Page 256 - kpiebook65021
P. 256
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
7.8.7 สิ่งที่สำมำรถท ำได้เพื่อส่วนรวม
จากค าถามที่ว่า “สิ่งที่สามารถท าได้เพื่อส่วนรวม” พบว่า จากข้อมูลการสัมภาษณ์ กลุ่มอื่น ๆ ได้
กล่าวถึงสิ่งที่สามารถท าได้เพื่อพื้นที่ของจังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่มนี้ได้มีการแสดงความคิดเห็นใน 9 ประเด็น โดย
3 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) ช่วยดูแลชุมชน/พัฒนาชุมชน
2) มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
3) ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่
ตำรำง 7.57 ร้อยละสิ่งที่สามารถท าได้เพื่อส่วนรวมของกลุ่มอื่น ๆ
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 ช่วยดูแลชุมชน/พัฒนาชุมชน 10 31.25
2 มีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน 7 21.88
3 ปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ 4 12.50
4 การช่วยเหลือกันในชุมชน 3 9.38
5 เป็นกระบอกเสียง/ประสานงานกิจกรรมต่าง ๆ 2 6.25
6 รักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2 6.25
7 มีความสามัคคีกันในชุมชน รับฟังความคิดเห็น เคารพสิทธิ 2 6.25
8 รักษาความสะอาดพื้นที่ชุมชน 1 3.13
9 ไม่สร้างความเดือดร้อน 1 3.13
ผลการศึกษาเมื่อจ าแนกตามกลุ่มอาชีพ ได้แก่ ผู้น าชุมชน ผู้น าท้องถิ่น ประชาสังคม เกษตรกรรม
ข้าราชการ ธุรกิจ คนรุ่นใหม่ และอื่น ๆ (ประชาชนทั่วไป) สรุปได้ว่ามีความเห็นที่ค่อนข้างสอดคล้องกันกับ
ภาพรวมในระดับจังหวัด และไม่ต่างกันมากนักในแต่ละกลุ่มอาชีพเกี่ยวกับประเด็นอดีต ความภาคภูมิใจ
อนาคตที่อยากเห็นในอีกห้าปี สิบปี และยี่สิบปีข้างหน้า โดยเรื่องราวส่วนใหญ่ในประเด็นดังกล่าวจะเกี่ยวกับ
สาธารณูปโภคและการประกอบอาชีพ คงมีเพียงประเด็นอนาคตที่อยากเห็นในอีกยี่สิบปีข้างหน้าและข้อห่วง
กังวลที่มีบางกลุ่มอาชีพให้ความส าคัญในเรื่องอื่นมากที่สุด ยกตัวอย่างกลุ่มผู้น าชุมชนอยากเห็นอนาคตอีกยี่สิบ
ปีข้างหน้าเป็นเรื่องทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตามมาด้วยเรื่องระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้าง
พื้นฐาน และคุณภาพชีวิต ส่วนกลุ่มอื่น ๆ ที่เป็นประชาชนทั่วไปคาดหวังอนาคตยี่สิบปีข้างหน้าในเรื่องของ
เศรษฐกิจ ตามมาด้วยทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และความทันสมัยและเทคโนโลยี
ส าหรับประเด็นห่วงกังวล ส่วนใหญ่ห่วงกังวลเรื่องการท างานของหน่วยงานในพื้นที่มากที่สุด ยกเว้น
กลุ่มผู้น าท้องถิ่น ประชาสังคม ภาคธุรกิจ คนรุ่นใหม่ และกลุ่มอื่น ๆ ที่มีความห่วงกังวลในเรื่องทรัพยากรฯ
231