Page 65 - kpiebook64011
P. 65

ละ 52.75 (หมายเหตุ : ภาคอุตสาหกรรม ประกอบด้วย 1) การท าเหมืองแร่และเหมืองหิน 2) การผลิต 3)
               ไฟฟ้า ก๊าซ ไอน้ าและระบบปรับอากาศ 4) การจัดหาน้ า การจัดการและบ าบัดน้ าเสีย ของเสีย และสิ่งปฏิกูล

               และ 5) การก่อสร้าง) หากสรุปในภาพรวมจะพบว่า อัตราการมีงานท าหรือการมีส่วนร่วมในก าลังแรงงานของ
               จังหวัดสมุทรปราการ ส่วนใหญ่จะท างานในภาคอุตสาหกรรม เนื่องจากจังหวัดสมุทรปราการมีโรงงาน
               อุตสาหกรรมเป็นอันดับ 2 ของประเทศ เนื่องจากพื้นที่จังหวัดสมุทรปราการเป็นศูนย์กลาง การขนส่งทั้งทางบก
               ทางน้ า และทางอากาศ การคมนาคมก็สะดวกและอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครเพียง 24 กิโลเมตร จึงท าให้

               ประชาชนส่วนใหญ่เลือกที่จะท างานในภาคอุตสาหกรรม

                       เมื่อพิจารณาผู้มีงานท าตามอาชีพในปี 2563 พบว่า อาชีพที่มีผู้ท างานมากที่สุด 5 อันดับแรก คือ 1) ผู้

               ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านประกอบ 363,233 คน (ร้อยละ 26.72) 2) พนักงาน
               บริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 252,236 คน (ร้อยละ 18.55) 3) ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทาง
               ฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 197,423 คน (ร้อยละ 14.52) 4) อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ 124,058 คน (ร้อย
               ละ 9.13) และ 5) เสมียน 108,637 คน (ร้อยละ 7.99)


                       หากศึกษาถึงระดับการศึกษาของผู้มีงานท า พบว่า ผู้มีงานท าส่วนใหญ่มีการศึกษาในระดับ
               มหาวิทยาลัย จ านวน 412,744 คน (ร้อยละ 26.52) รองลงมาเป็นระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จ านวน

               348,058 คน (ร้อยละ 22.37) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จ านวน 322,877 คน (ร้อยละ 20.75) การศึกษา
               ระดับประถมศึกษา จ านวน 252,922 คน (ร้อยละ 16.25) การศึกษาต่ ากว่าประถมศึกษา จ านวน 113,713
               คน (ร้อยละ 7.31) ไม่ทราบการศึกษา จ านวน 69,821 คน (ร้อยละ 4.49) และไม่มีการศึกษา จ านวน 36,085
               คน (ร้อยละ 2.32)


                       ในด้านสถานภาพการท างานของผู้มีงานท า พบว่า ส่วนใหญ่เป็นลูกจ้างเอกชน จ านวน 952,237 คน
               (ร้อยละ 70.04) รองลงมาได้แก่ ท างานส่วนตัว จ านวน 255,978 คน (ร้อยละ 18.83) ลูกจ้างรัฐบาล จ านวน

               64,194 คน (ร้อยละ 4.72) ช่วยธุรกิจครัวเรือน จ านวน 62,607 คน (ร้อยละ 4.61) และนายจ้าง จ านวน
               24,462 คน (ร้อยละ 1.80)


                       หากดูในแง่ของแรงงานนอกระบบ จากข้อมูลของส านักงานสถิติจังหวัดสมุทรปราการ ปี 2563 พบว่า
               ผู้มีงานท าที่เป็นแรงงานนอกระบบมีจ านวน 233,400 คน คิดเป็นร้อยละ 17.29 ของผู้มีงานท าทั้งหมด
               แรงงานนอกระบบส่วนใหญ่จะท างานนอกภาคเกษตรจ านวน 220,898 คน (ร้อยละ 94.64 ของผู้มีงานท าที่

               เป็นแรงงานนอกระบบ) ส่วนแรงงานนอกระบบที่ท างานในภาคเกษตรมีจ านวน 12,502 คน (ร้อยละ 5.36)
               เมื่อพิจารณาตามประเภทอุตสาหกรรม พบว่า อุตสาหกรรมที่มีจ านวนแรงงานนอกระบบสูงสุด 5 อันดับแรก
               คือ 1) การขายส่งขายปลีกซ่อมแซมยานยนต์ จ านวน 72,570 คน (ร้อยละ 31.09 ของผู้มีงานท าที่เป็นแรงงาน
               นอกระบบ) 2) โรงแรมและบริการอาหาร จ านวน 50,814 คน (ร้อยละ 21.77) 3) การขนส่ง 43,499 คน (ร้อย

               ละ 18.64) 4) การผลิต 29,605 คน (ร้อยละ 12.68) และ 5) การก่อสร้าง จ านวน 9,599 คน (ร้อยละ 4.11)

                       เมื่อพิจารณาแรงงานนอกระบบ จ าแนกตามอาชีพ พบว่า 5 อันดับแรกคือ 1) พนักงานบริการ

               106,133 คน (ร้อยละ 45.47 ของผู้มีงานท าที่เป็นแรงงานนอกระบบ) 2) ผู้ปฏิบัติงานโรงงานเครื่องจักร
               42,932 คน (ร้อยละ 18.39) 3) งานที่ใช้ความสามารถฝีมือ 12,626 คน (ร้อยละ 5.41) 4) ผู้บัญญัติกฎหมาย
               และผู้จัดการ 10,421 คน (ร้อยละ 4.46) และ 5) อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ 10,089 คน (ร้อยละ 4.32)






                          โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดสมุทรปราการ   47
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70