Page 45 - kpiebook63029
P. 45

44       การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดเลย








                      ประเด็นร่างรัฐธรรมนูญ                                  ประเด็นเ���มเ��ม











                    ไม่เห็นชอบ         เห็นชอบ                          ไม่เห็นชอบ       เห็นชอบ















                      ภำพที่ 2 เปรียบเทียบผลการออกเสียงประชามติเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบรัฐธรรมนูญปี 2559
             และประเด็นเพิ่มเติมประชาชนในจังหวัดเลย






                      ผลการออกเสียงประชามติในจังหวัดเลยข้างต้น เมื่อพิจารณาเทียบเคียงกับผลการเลือกตั้ง

             สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรครั้งนี้กับอีก 4 จังหวัดภาคอีสานที่เห็นชอบกับประชามติเช่นกัน ได้แก่ นครราชสีมา
             บุรีรัมย์ อุบลราชธานี และอำานาจเจริญ พบลักษณะร่วมที่อาจเป็นปัจจัยสำาคัญในการตัดสินใจของ
             ประชาชน คือ อิทธิพลและความนิยมของพรรคเพื่อไทยในภาคอีสานของแต่ละจังหวัดมีไม่เท่ากัน กล่าวคือ

             สำาหรับพรรคเพื่อไทยนั้นไม่เห็นด้วยกับการทำาประชามติดังกล่าว เนื่องจากไม่เห็นด้วยกับเนื้อหาของ

             ร่างรัฐธรรมนูญ ตลอดจนบรรยากาศในการรณรงค์ให้รับหรือไม่รับประชามติ ประชาชนไม่สามารถแสดง
             ความเห็นได้อย่างเสรี จึงเป็นไปได้ว่าอิทธิพลของพรรคเพื่อไทยที่ส่งผลไปยังผู้นิยมชมชอบพรรคในลักษณะ
             แนวโน้มของการไม่เห็นชอบในประชามติตามไปด้วย ทว่าใน 4 จังหวัดภาคอีสานข้างต้นและจังหวัดเลย

             อิทธิพลของพรรคดังกล่าวไม่ได้มีมากนัก ทั้งนี้ พรรคเพื่อไทยไม่สามารถชนะการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

             ได้แบบ “ยกจังหวัด” ยกเว้นจังหวัดอำานาจเจริญ อย่างไรก็ดี เมื่อพิจารณาผู้ชนะเลือกตั้งทั้งสองเขต พบ
             ว่า สามารถเอาชนะลำาดับที่สองได้ประมาณสองพันคะแนนเท่านั้น พิจารณาเทียบเคียงการลงประชามติ
             กับผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 2562 ดังตารางที่ 10
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50