Page 71 - kpiebook63009
P. 71

71








                          4. อำาเภอเดิมบางนางบวช มีพื้นที่ 552.330 ตารางกิโลเมตร 14 ตำาบล 119 หมู่บ้าน

                          5. อำาเภอบางปลาม้า มีพื้นที่ 481.298 ตารางกิโลเมตร 14 ตำาบล 127 หมู่บ้าน

                          6. อำาเภอศรีประจันต์ มีพื้นที่ 180.986 ตารางกิโลเมตร 9 ตำาบล 64 หมู่บ้าน


                          7. อำาเภอสองพี่น้อง มีพื้นที่ 750.381 ตารางกิโลเมตร 15 ตำาบล 140 หมู่บ้าน

                          8. อำาเภอสามชุก มีพื้นที่ 355.917 ตารางกิโลเมตร 7 ตำาบล 68 หมู่บ้าน

                          9. อำาเภอหนองหญ้าไซ มีพื้นที่ 420.209 ตารางกิโลเมตร 6 ตำาบล 64 หมู่บ้าน

                          10. อำาเภออู่ทอง มีพื้นที่ 630.29 ตารางกิโลเมตร 13 ตำาบล 151 หมู่บ้าน


                          การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น แบ่งการปกครองออกเป็น องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลเมือง

                  2 แห่ง คือ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี และเทศบาลเมืองสองพี่น้อง เทศบาลตำาบล 43 แห่ง และองค์การบริหาร
                  ส่วนตำาบล 81 แห่ง จากสถิติของสำานักบริหารการทะเบียนกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย ณ เดือนธันวาคม

                  2559 จังหวัดสุพรรณบุรีมีประชากร ทั้งสิ้น 848,567 คน เป็นชาย 410,617 คน และหญิง 437,950 คน







                  7. ผลงำนวิจัยที่เกี่ยวข้อง




                          ฐปนรรต พรหมอินทร์ (2558: บทสรุปสำาหรับผู้บริหาร) ศึกษาเรื่อง การศึกษาความเคลื่อนไหว
                  ทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2554: จังหวัดสุพรรณบุรี พบว่า


                          1. ความเคลื่อนไหวก่อนการเลือกตั้ง


                            1.1 พรรคการเมือง ที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งในระบบแบ่งเขตเลือกตั้ง 8 พรรค คือ พรรคเพื่อไทย

                  พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน พรรคประชาธิปัตย์ พรรครักษ์สันติ พรรคเพื่อฟ้าดิน พรรคเครือข่ายชาวนา
                  แห่งประเทศไทย พรรคชาติไทยพัฒนา และพรรรคพลังคนกีฬา โดยพรรคเพื่อไทย พรรคชาติพัฒนาเพื่อแผ่นดิน

                  พรรคประชาธิปัตย์ และพรรคชาติไทยพัฒนาส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งครบทั้ง 5 เขต นโยบายที่ใช้ในการหาเสียง
                  คือ นโยบายประชานิยม


                            1.2 ผู้สมัครรับเลือกตั้ง มีผู้สมัครรับเลือกตั้งในระบบแบ่งเขตเลือกตั้งจำานวน 29 คน ส่วนใหญ่
                  เป็นเพศชาย กลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุดมีการศึกษาในระดับตำ่ากว่าปริญญาตรี มีอายุระหว่าง 51-60 ปี เหตุผลใน

                  การสมัครรับเลือกตั้ง เพราะมีความสนใจในทางการเมือง ต้องการเสนอตัวให้ประชาชนเลือก เพื่อความต่อเนื่อง

                  ในการทำางาน พรรคการเมืองถูกยุบ ต้องการให้มีกฎหมายรองรับนโยบาย ต้องการรณรงค์ให้ประชาชนโหวตโน
                  และต้องการช่วยเหลือเกี่ยวกับหนี้สินของเกษตรกร ลักษณะ วิธีการหาเสียงใช้ 2 วิธี คือ การใช้สื่อประชาสัมพันธ์
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76