Page 35 - kpiebook63009
P. 35

35








                          5.3.2 แบบสอบถำม ใช้เก็บข้อมูลจากผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งทั้ง 4 เขต จำานวน 402 ตัวอย่าง

                  ประกอบด้วยคำาถาม 2 ตอน คือ ตอนที่ 1 ข้อมูลปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ อายุ ระดับ
                  การศึกษา อาชีพ และรายได้ และตอนที่ 2 พฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชน ประกอบด้วย การติดตาม

                  ข่าวสารการเลือกตั้ง สื่อ/ช่องทางการติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง ผลของการติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง สาเหตุ
                  ที่ทำาให้ไม่สนใจติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง เหตุผลที่ทำาให้ไปใช้สิทธิ์ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง บุคคลที่มีอิทธิพล

                  ต่อการไปใช้สิทธิเลือกตั้ง การพิจารณาตัดสินใจเลือกสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พฤติกรรมที่พบในการเลือกตั้งสมาชิก
                  สภาผู้แทนราษฎร การเข้าไปมีส่วนร่วมในการสนับสนุนพรรคการเมือง และปัจจัยทำาให้สนับสนุนพรรคการเมือง




                            โดยแบบสอบถามเป็นแบบมาตรประมาณค่า 5 ตัวเลือก คือ


                                           1       หมายถึง       ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด

                                           2       หมายถึง       ระดับความคิดเห็นน้อย
                                           3       หมายถึง       ระดับความคิดเห็นปานกลาง

                                           4       หมายถึง       ระดับความคิดเห็นมาก

                                           5       หมายถึง       ระดับความคิดเห็นมากที่สุด


                            และมีการแบ่งเกณฑ์การแปลผล ดังนี้


                                  1.00 – 1.80      หมายถึง       ระดับความคิดเห็นน้อยที่สุด

                                  1.81 – 2.60      หมายถึง       ระดับความคิดเห็นน้อย
                                  2.61 – 3.20      หมายถึง       ระดับความคิดเห็นปานกลาง

                                  3.21 – 4.20      หมายถึง       ระดับความคิดเห็นมาก

                                  4.21 – 5.00      หมายถึง       ระดับความคิดเห็นมากที่สุด





                          5.4 กำรวิเครำะห์ข้อมูล สำาหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการพรรณาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis)

                  เป็นสำาคัญ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณจะใช้ค่าสถิติร้อยละ (Percentages) และค่าเฉลี่ย (Means) ส่วนเบี่ยงเบน

                  มาตรฐาน (Standard Deviation) แล้วจึงใช้การพรรณนาความ
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40