Page 88 - kpiebook62005
P. 88
13) ความต่อเนื่อง (การใช้ประโยชน์ข้อมูล การออกแบบข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน สามารถน าข้อมูลข่าวสาร
ในแต่ละส่วนมาใช้ในเชิงวิเคราะห์ร่วมกันได้ ควรมีการปรับฐานข้อมูลร่วมกันเพื่อการน าไปใช้
ประโยชน์ตั้งแต่ต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า รวมถึงควรมีการสะสมข้อมูล และมีหน่วยงานที่
รวบรวมข้อมูล เพื่อน าข้อมูลมาใช้ประโยชน์ รวมถึงการสังเคราะห์ข้อมูลด้วย
14) มีกระบวนการร้องเรียน ตรวจสอบ แก้ไข ข้อมูลข่าวสารที่ดีควรมีการประเมินผลความพึงพอใจ
รวมถึงควรมีช่องทางที่ให้ผู้ใช้บริการได้แสดงความเห็น ตลอดจนมีส่วนร่วมในการติดตาม มีส่วน
ร่วมในการตรวจสอบ และสามารถเสนอข้อเสนอแนะได้อย่างสะดวก เพื่อการปรับปรุง
กระบวนการรวมถึงกระบวนการบริหารอย่างต่อเนื่อง
15) มีความคุ้มค่า การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ควรค านึงถึงความคุ้มค่าของผู้ผลิต ผู้ใช้ และสื่อ
สาธารณะให้เกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพ ด าเนินการอย่างประหยัดและคุ้มค่าให้มากที่สุด
เพื่อประโยชน์ในการใช้ประเมินการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร คณะผู้วิจัยได้จัดท าพิสัยตัวชี้วัดส าหรับ 15
ตัวชี้วัด ดังนี้
ตารางที่ 4.1 สรุปตัวชี้วัดและพิสัยตัวชี้วัดในการประเมินการเปิดเผยข้อมูลข่าวสารด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ
ตัวชี้วัด พิสัยของตัวชี้วัด
ควรปรับปรุง (0) พอใช้ (10) ดี (20)
คุณภาพข้อมูล
1. ถูกต้องครบถ้วน ไม่พบข้อมูล มีข้อมูล แต่ไม่ครบถ้วน ข้อมูลครบถ้วนตาม
ตามกฎหมายก าหนด กฎหมาย ก าหนด
2. มีกฎหมายและ ไม่มีการชี้แจงกฎหมาย มีการชี้แจงกฎหมายและ มีการชี้แจงรายละเอียด
ระเบียบ เข้าใจ และ ระเบียบที่เกี่ยวข้อง ระเบียบที่เกี่ยวข้องกับ ของกฎหมายและระเบียบ
ชัดเจน กับข้อมูล ข้อมูลแต่ไม่ชัดเจนหรือ ที่เกี่ยวข้องอย่างชัดเจน
เข้าใจได้ยาก เข้าใจง่าย
3. ไม่ถูกปรุงแต่ง ข้อมูลไม่มีการระบุแหล่ง ข้อมูลมีการระบุแหล่ง ข้อมูลมีการระบุแหล่ง
อ้างอิง อ้างอิงบางส่วนหรือ อ้างอิงชัดเจน และมีความ
แหล่งที่มาของข้อมูลไม่มี น่าเชื่อถือ
ความน่าเชื่อถือ
4. ทันสมัย ข้อมูลไม่เป็นปัจจุบัน ข้อมูลเป็นปัจจุบันเป็น ข้อมูลเป็นปัจจุบัน และมี
(มากกว่า 1 ปี) บางส่วน การปรับปรุงให้ทันสมัย
อยู่เสมอ
-61-