Page 54 - b28783_Fulltext
P. 54

ตารางที่ 26 แสดงการปรับตัวของครัวเรือนเกษตรกรรมรายย่อยช่วงวิกฤติโควิด-19

                                   กิจกรรมของครัวเรือน                      ไม่มี       มี        รวม
                 1. การเพิ่มช่องทางการขายผลผลิต การแปรรูปในลักษณะขายใน     96.2        3.8       100.00
                 ตลาดออนไลน์ หรือการใช้ช่องทางสื่อสาร
                 2. การปรับการผลิตหรือวางแผนการผลิตโดยการปลูกพืช/เลี้ยง    85.0        15.0      100.00

                 สัตว์ให้หลากหลายมากยิ่งขึ้น
                 3. การเพิ่มพื้นที่การผลิตทางการเกษตร                      96.0        4.4       100.00

                 4. การลดรายจ่ายโดยการปลูกผัก/เลี้ยงสัตว์กินเอง            51.8        48.2      100.00
                 5. การลดรายจ่ายโดยหาอาหารจากแหล่งธรรมชาติเพิ่มมากขึ้น     74.5        25.5      100.00
                 กว่าช่วงปกติ
                 6. การกู้ยืมเพิ่มขึ้นกว่าปกติ                             92.00       8.00      100.00

                 7. การจ าน าจ านองทรัพย์สิน                               91.2        8.8       100.00
                 8. การขายทรัพย์สิน                                        97.3        2.7       100.00
                 9. การหารายได้จากอาชีพอื่น ๆ เสริม                        82.7        17.3      100.00

                 10. การรับความช่วยเหลือจากเครือข่ายทางสังคม (เช่น เพื่อน   87.7       12.3      100.00
                 ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน วัด โรงเรียน เครือข่ายศิษย์เก่า ฯลฯ)

                       ตารางที่ 27 แสดงบทบาทของครัวเรือนในการช่วยเหลือคนอื่น

                                       บทบาทในการช่วยเหลือ                                 ร้อยละ
                 1. การบริจาค หรือแบ่งปันเงิน ผลผลิต อาหาร ฯลฯ ให้ญาติพี่น้อง เพื่อนบ้าน    41.4
                 ในชุมชน

                 2. การบริจาค หรือแบ่งปันเงิน ผลผลิต อาหาร ฯลฯ ให้ผู้อื่นนอกชุมชน           15.7
                 3. การเข้าร่วมกิจกรรมเฝ้าระวังในชุมชนหรือในท้องที่ใกล้เคียง                35.9


                       3.8 บทสรุปและข้อสังเกตบางประการ

                        ครัวเรือนเกษตรกรรายย่อยมีการผลิตและแหล่งรายได้ที่หลากหลาย กล่าวคือ รายได้ที่มาจากการ
                  แปรรูป ค้าขาย และแรงงานนอกภาคการเกษตร ผลกระทบที่เกิดจากโควิด-19 แม้จะมีในทุกมิติของชีวิตแต่
                  ก็ได้รับผลกระทบน้อยกว่า ผลกระทบของโควิด-19 ต่อคนจนเมือง (อรรถจักร์ สัตยานุรักษ์และคณะ.
                  รายงานการส ารวจผลกระทบจากโควิด-19 ต่อชีวิตคนจนเมือง 2563) และได้รับผลกระทบน้อยกว่าผู้คนที่มี
                  ชีวิตทางเศรษฐกิจในภาคบริการหรือภาคท่องเที่ยว

                        การผลิตพืชหลักหรือพืชพาณิชย์และไม้ผลที่ได้รับผลกระทบ แต่ผลกระทบก็เกิดขึ้นกับพืชผักและ
                  ผลไม้บางชนิดที่รุนแรงเท่านั้น กล่าวคือ ไม่ได้เกิดผลกระทบจนกระทั่งไม่มีรายได้จากการผลิต ส่วนรายได้
                  จากการค้าขายและการแปรรูป แม้ได้รับผลกระทบท าให้รายได้ไม่เท่าเดิมแต่ก็พอสามารถปรับตัวในการ

                  ประกอบอาชีพระดับชุมชน เช่น ตลาดชุมชน การเปิดร้านค้าหน้าบ้าน ฯลฯ
                        ผลกระทบต่อรายได้จากแรงงานนอกภาคเกษตร มีครัวเรือนที่มีสมาชิกตกงาน ร้อยละ 20.5 และมี
                  ครัวเรือนที่สมาชิกมีรายได้นอกภาคเกษตรลดลง ร้อยละ 24.1 ของจ านวนครัวเรือนที่มีสมาชิกหารายได้



                                                                                                       39
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59