Page 148 - 22825_Fulltext
P. 148
4-3
ตารางที่ 4.2 เกณฑ์การให้คะแนนตัวชี้วัดมุมมองต่อระดับความรุนแรงในประเทศ
ระดับ รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
1 ไม่เห็นด้วยเลย
2 ไม่ค่อยเห็นด้วย
3 ค่อนข้างเห็นด้วย
4 เห็นด้วยอย่างยิ่ง
แหล่งข้อมูล: สถาบันพระปกเกล้า เก็บข้อมูลโดยสถาบันพระปกเกล้าร่วมกับส้านักงานสถิติแห่งชาติ
ระยะเวลาในการเก็บข้อมูล: วันที่ 1 – 19 เมษายน พ.ศ. 2564
ตารางที่ 4.3 ข้อมูลที่ใช้ในการค้านวณมุมมองต่อระดับความรุนแรงในประเทศระหว่างปี 2562 กับปี 2564
[1]
ตัวชี้วัด 2562 2563 2564
ค่าเฉลี่ยมุมมองต่อระดับความรุนแรงในประเทศ 2.70 - 2.80
(0.51) (0.57)
หมายเหตุ: ( ) ค่าดัชนี
[1] คือ ในปี 2563 ไม่มีการส้ารวจข้อมูล
ผลการค านวณ
ตารางที่ 4.4 เกณฑ์การให้คะแนนดัชนีมุมมองต่อระดับความรุนแรงในประเทศ
ระดับ ค่าดัชนี รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
1 0.90455 - 1.00000 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 80 – 100
2 0.71895 - 0.90454 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 60 – 80
3 0.41313 - 0.71894 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 40 – 60
4 0.11389 - 0.41312 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 20 – 40
5 0.00000 - 0.11388 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 0 – 20
ตารางที่ 4.5 ผลการค้านวณดัชนีมุมมองต่อระดับความรุนแรงในประเทศ
ระดับ ค่าดัชนี รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
3 0.41313 - 0.71894 ค่าดัชนีที่ค้านวณมีค่าอยู่ในช่วง Percentile 40 – 60
จากข้อมูลการส้ารวจความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับความพึงพอใจต่อการให้บริการ
สาธารณะและการท้างานของหน่วยงานต่าง ๆ พ.ศ. 2564 โดยสถาบันพระปกเกล้าร่วมกับส้านักงานสถิติ
แห่งชาติ “ความรุนแรงทางการเมืองไทยมีโอกาสเกิดขึ้นอีกในอนาคต” ระดับ 1-4 (จากคะแนนน้อยไป
มาก) ค้านวณเป็นคะแนนดัชนีเท่ากับ 0.57 ซึ่งเมื่อจัดระดับตัวชี้วัดสันติภาพอยู่ที่ระดับที่ 2.48