Page 33 - 4 EDIT โรงเรียนสร้างคน พลเมืองสร้างชาติ The Series เล่ม 2 (2560).indd
P. 33

…เรียนแบบตามใจผู้เรียนด้วย…
                    …บ้ากันไปใหญ่แล้ว เมื่อเป็นเช่นนี้จะไม่ลองของก็คงจะไม่ได้…
                    เมื่อตั้งสติได้ดังนั้นก็เริ่มเข้าสู่กระบวนการของการสมัครเข้าเรียนเป็น
            นักเรียนโรงเรียนพลเมืองเสลภูมิทันที  แบบไม่รอช้า  ท�าให้ได้พบว่าวิชาที่ใช้เรียนล้วน
            แต่เป็นวิชาที่จ�าเป็นในชีวิตประจ�าวันอย่างยิ่ง  เราอาจจะไม่ต้องพูดถึงวิชาแกนกลาง
            เพราะทุกพื้นที่ต้องเรียนเหมือนกันหมดเพราะเป็นวิชาบังคับ  เป็นสิ่งที่เราต้องเรียนรู้
            ตามหลักสูตรของโรงเรียนพลเมืองอยู่แล้ว
                    …แต่ ๆ ๆ… วิชาเสรีนี่สิ น่าตื่นเต้นกว่า เนื่องจากว่านักเรียนพลเมืองเสลภูมิ
            นั้นมีความหลากหลาย ทั้งอาชีพ อายุ และระดับการศึกษา แต่ก็มีบางอย่างที่เรา
            “รู้ก็เหมือนไม่รู้” เช่นวิชากฎหมายใกล้ตัว ทุกคนรู้กฎหมายแต่ทุกคนก็ละเลยกฎหมายด้วย
            เช่นกัน  ดังนั้นจึงเป็นข้อสรุปที่ว่าเราจะเรียนวิชากฎหมายใกล้ตัวกันอยากรู้เรื่องเทคนิค
            และกระบวนการพูดเราก็ได้เรียนอยากเรียนรู้เรื่องอาชีพเพื่อน�าไปปรับใช้กับยุคสมัยนี้
            เราก็ได้เรียน แทบไม่ต้องถามเลยว่ามีความสุข มีความสนุก ได้รับความรู้มากแค่ไหน เพราะ
            บรรยากาศในการเรียนได้ให้ค�าตอบทุกคนถามไปหมดแล้ว (คงจะหาที่ไหนไม่ได้อีก)
                    …ไม่มีนักเรียนคนใด ไม่เคยขาดเรียน…
                    ด้วยปณิธานของโรงเรียนพลเมืองที่อยากจะให้ทุกคนเข้ามาเรียนรู้ร่วมแบบ
            ไร้ข้อจ�ากัด ไม่แบ่งเพศ อายุ การศึกษา และอาชีพ ปัญหาที่มักพบเจอบ่อยที่สุดของ
            การเข้าเรียนคือเพื่อนร่วมชั้นมาไม่ครบเพื่อนร่วมชั้นขาดเรียน อาจจะไม่สะดวก ติดภาระกิจ
            ปัญหาของปากท้องติดภาระกิจของครอบครัวถึงแม้จะเข้าเรียนไม่ครบแต่มิตรภาพ
            หล่อหลอมร่วมกันมาท�าให้ “เพื่อนไม่ทิ้งกัน”
                    ไม่มีนักเรียนคนไหน ไม่เคยขาดเรียน แต่การขาดเรียนต้องไม่เสียเปล่า เมื่อกลับ
            มาเรียนอีกครั้งต้องรู้เรื่องและทันเพื่อนท�าให้เกิดความสามัคคีกันในหมู่นักเรียน
            โรงเรียนพลเมืองเสลภูมิ  จนกลายเป็นเสมือนครอบครัว  ตลอดระยะเวลาในการเรียน
            เกือบ 1 ปี (ที่ผ่านไปอย่างรวดเร็ว) การช่วยกันค่อย ๆ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นทั้งต่อตนเอง
            และต่อส่วนร่วมก็ถูกพัฒนา คลายปม และแก้ไขมาเรื่อย ๆ จนมาสู่การจัดท�านโยบาย
            สาธารณะหรือที่นักเรียนโรงเรียนพลเมืองเรียกว่า “นวัตกรรม” ซึ่งเป็นการด�าเนินเพื่อให้
            จบหลักสูตรหรือเพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวมตามหลักฉบับของโรงเรียนพลเมืองนั้นเอง
                    …เส้นที่สู่ฝันที่เป็นจริง…
                    เส้นทางกว่าจะเป็นนวัตกรรมที่ชื่อว่า “การก�าจัดขยะมูลฝอย” เพราะปัญหา
            ขยะในร้อยเอ็ดใคร  ๆ  ก็รู้ว่ามีมากแค่ไหนกองขยะกองโตขนาดไหน  อีกทั้งปัญหาขยะ
            ก็เป็นปัญหาที่พบเจอทุกชุมชนท�าให้การก�าจัดขยะจึงเป็นส�านึกรับผิดชอบที่ทุกคน

                                                                   I
                                       “โรงเรียนสร้างคน……พลเมืองสร้างชาติ” เล่ม 2   2560  21
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38