Page 6 - kpi22173
P. 6

“บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชน
                          เพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม”





                  ปริญญ ขวัญเรียง และคณะ. (2564). บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในการ

                           เสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อปองกันและควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
                           ไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกลา.



                                                          บทคัดยอ


                         การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมสารสนเทศทางดานสุขภาพของสตรีถิ่นอาสาสมัคร

                  สาธารณสุขประจําหมูบานในการใหความรูแกชุมชนเพื่อปองกัน เฝาระวัง และควบคุมการแพรระบาดของ

                  โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม  2) บทบาทสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุข

                  ประจําหมูบานในการเสริมสรางการมีสวนรวมของชุมชนเพื่อปองกัน เฝาระวัง และควบคุมการแพรระบาด

                  ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม และ 3) แนวทางในการเสริมสราง

                  การมีสวนรวมของสตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานเพื่อปองกัน เฝาระวัง และควบคุมการ

                  แพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019 ในจังหวัดเชียงใหม  วิธีดําเนินการวิจัยใช

                  การวิจัยแบบผสานวิธี เครื่องมือที่ใชในการวิจัย  ประกอบดวย  แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณเชิงลึก

                  กลุมตัวอยาง ประกอบดวย สตรีอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานในพื้นที่ตําบลสุเทพ ตําบลแมเหียะ

                  ตําบลฟาฮาม และตําบลทาศาลา อําเภอเมืองเชียงใหม จังหวัดเชียงใหม จํานวน 250 คน  ผูใหขอมูลหลัก

                  ในการศึกษา จํานวน 40 คน  สําหรับการวิจัยเชิงปริมาณเก็บรวบรวมขอมูลโดยใชแบบสอบถาม สถิติที่ใช

                  คือ คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย และคาเบี่ยงเบนมาตรฐาน  สวนการวิจัยเชิงคุณภาพใชการวิเคราะห

                  เนื้อหา


                         ผลการศึกษา พบวา 1) สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีความตองการสารสนเทศ
                  ทางดานสุขภาพเพื่อใหความรูแกชุมชนในการปองกัน เฝาระวัง และควบคุมการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ


                  ไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม 2019  มีการแสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพจากแหลงสารสนเทศที่มีความ
                  นาเชื่อถือ  มีการนําสารสนเทศทางดานสุขภาพที่ไดรับมาไปใชแกปญหา  รวมทั้งเลือกใชสารสนเทศหรือ


                  ความรูทางดานสุขภาพจากแหลงสารสนเทศที่ระบุแหลงที่มาชัดเจน  สวนปญหาที่พบอยูในระดับนอย

                  ซึ่งแสดงใหเห็นอยางชัดเจนวา สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานสวนใหญมีอุปกรณหรือ

                  เครื่องมือทางเทคโนโลยีในการแสวงหาสารสนเทศหรือความรูทางดานสุขภาพและมีพฤติกรรมในการ

                  แสวงหาสารสนเทศทางดานสุขภาพที่เหมาะสม  2) สตรีถิ่นอาสาสมัครสาธารณสุขประจําหมูบานมีบทบาท






                                                             5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11