Page 123 - kpi21365
P. 123
เป้าหมาย ตัวชี้วัด แนวทางการพัฒนา
ตรวจสอบกระบวนการด าเนินงาน งบประมาณ และการคลังของภาครัฐได้อย่างโปร่งใสยิ่งขึ้น โดย
พื้นที่ ให้จังหวัด กลุ่มจังหวัด และราชการบริหารส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยรับการจัดสรรงบประมาณได้ ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ตัดสินใจในกระบวนการงบประมาณ ตั้งแต่การเสนอโครงการตามแผนพัฒนาชุมชนที่สามารถเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาท้องถิ่นและแผนพัฒนาจังหวัด
ตลอดจนตรวจสอบและติดตามผลการใช้จ่ายงบประมาณเชิงพื้นที่ รวมทั้งแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้อง อาทิ พระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 และพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2551
3.2.1 ปรับปรุงกระบวนการจัดท าแผนพัฒนาระดับพื้นที่ให้เชื่อมโยงตั้งแต่ระดับชุมชนถึงระดับจังหวัด โดย
1) ระดับหมู่บ้าน จัดท าแผนชุมชนที่ใช้ข้อมูลและการมีส่วนร่วมของประชาชนผ่านเวทีประชาคมหมู่บ้านรวมทั้งจัดท าข้อเสนอแผนงานโครงการที่
ชุมชนต้องการ
2) ระดับต าบล เปิดเวทีประชาคมระดับต าบลโดยใช้คณะกรรมการหมู่บ้านสภาองค์กรชุมชน เข้ามาเป็นกลไกในการให้ค าปรึกษาตั้งแต่ระดับ
หมู่บ้านถึงต าบล เพื่อจัดท าแผนพัฒนาต าบล
และเสนอขอรับการจัดสรรงบประมาณจากสภาท้องถิ่นระดับต าบล
3) ระดับอ าเภอ เป็นหน่วยบูรณาการแผนพัฒนาตาบลให้เป็นไปในทิศทางที่สอดคล้องกับหลักการจัดท าแผนและงบประมาณแบบมีส่วนร่วม
4) ระดับจังหวัด จัดท าแผนพัฒนาจังหวัดที่สอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของประชาชนอย่างแท้จริง มีข้อมูลที่โปร่งใสชัดเจน
ตรวจสอบได้ มีกระบวนการที่เปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวางบูรณาการข้อเสนอแผนงานโครงการตามความต้องการของ
ประชาชนที่เกินขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นระดับต่ ากว่าจังหวัดข้อเสนอแผนงานโครงการของส่วนราชการในพื้นที่ และ
ยุทธศาสตร์จังหวัดที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติและนโยบายรัฐบาลโดยแผนพัฒนาจังหวัดควรมีกรอบวงเงินที่ชัดเจนว่าเป็นกรอบวงเงินตาม
ภารกิจจากกระทรวงและกรอบวงเงินตามค าขอของจังหวัด
3.2.2 ก าหนดโครงสร้างและล าดับความส าคัญของแผนงานในงบประมาณรายจ่ายประจ าปีให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
104
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ