Page 465 - kpi21298
P. 465
จากตารางที่ 6.27 และภาพประกอบที่ 6.27 พบว่า ความเหมาะสมของตัวชี้วัดในการ
ติดตามและประเมินผลการน าหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์กรภาคเอกชน (ธุรกิจ) ที่จดทะเบียน
ในตลาดหลักทรัพย์ในรายองค์ประกอบหลักคุณธรรม มีระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อ
ติดตามและประเมินผลการน าหลักธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์กรภาคเอกชน (ธุรกิจ) อยู่ในระดับ
มากที่สุด (Mean = 4.60, S.D = 0.42, ระดับความเหมาะสม = มากที่สุด) โดยเมื่อพิจารณาเป็นข้อ
พบว่า มีระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อติดตามและประเมินผลฯ อยู่ในระดับมากที่สุด 3
ตัวชี้วัด และมีระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้เพื่อติดตามและประเมินผลฯ อยู่ในระดับมาก 1
ตัวชี้วัด โดยเรียงตามล าดับค่าเฉลี่ยระดับความเหมาะสมในการน าไปใช้จากมากไปหาน้อยได้ดังนี้
ตัวชี้วัด 1 : องค์กรมีการปฏิบัติงานตามที่กฎหมายก าหนด (Mean = 4.85, S.D = 0.36, ระดับความ
เหมาะสม = มากที่สุด) ตัวชี้วัด 3 : บุคลากรของ องค์กรไม่มีการกระท าผิดที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐาน
วิชาชีพ (Mean = 4.63, S.D = 0.79, ระดับความเหมาะสม = มาก) ตัวชี้วัด 2 : บุคลากรขององค์กร
ไม่มีการกระท าผิดวินัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน (Mean = 4.52, S.D = 0.75, ระดับความ
เหมาะสม = มาก) และสุดท้ายได้แก่ ตัวชี้วัด 4 : ผู้บริหารพิจารณาสิทธิ ประโยชน์ และโทษทางวินัย
ของบุคลากรอย่างตรงไปตรงมา (Mean = 4.41, S.D = 0.79, ระดับความเหมาะสม = มาก)
ตารางที่ 6.28 ระดับความเหมาะสมของตัวชี้วัดในการติดตามและประเมินผลการน าหลัก
ธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์กรภาคเอกชน (ธุรกิจ) ที่จดทะเบียนในตลาด
หลักทรัพย์ในรายองค์ประกอบหลักความโปร่งใส และในรายข้อ
องค์ประกอบหลักความโปร่งใส Mean S.D. การแปลผล
ตัวชี้วัด 1 : องค์กรมีระบบตรวจสอบภายใน และให้ 4.74 0.59 มากที่สุด
ประชาชนเข้ามีส่วนร่วมตรวจสอบ
ตัวชี้วัด 2 : องค์กรมีการจ่ายค่าตอบแทนที่มี 4.85 0.36 มากที่สุด
ประสิทธิภาพ มีมาตรฐานและเหมาะสม
ตัวชี้วัด 3 : องค์กรมีวิธีการลงโทษที่ยุติธรรมและรวดเร็ว 4.00 0.92 มาก
ตัวชี้วัด 4 : องค์กรมีการรายงานฐานะทางการเงินให้ 4.63 0.84 มากที่สุด
ทราบต่อสาธารณชนอย่างชัดเจน
องค์ประกอบหลักความโปร่งใส โดยรวม 4.56 0.47 มากที่สุด
โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (Phase 2) 429