Page 364 - kpi21298
P. 364

3) ผู้ให้ข้อมูลส าคัญคนที่ 3 (A3) ต าแหน่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์, รองคณบดีฝ่าย
                       วิชาการ คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึ่งจากการสัมภาษณ์เชิงลึกเพื่อ

                       ประเมินคุณภาพของร่างตัวชี้วัด Good Governance Mapping Platform เพื่อติดตามผลการน าหลัก

                       ธรรมาภิบาลไปปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย สามารถอธิบายข้อสนเทศที่ได้รับโดยเรียง
                       ตามล าดับตัวชี้วัดในแต่ละองค์ประกอบ ดังนี้

                                       3.1)  องค์ประกอบหลักนิติธรรม

                                         3.1.1) ตัวชี้วัดที่ 1 การแบ่งแยกอ านาจหน้าที่ ผู้ให้ข้อมูลส าคัญมีความเห็น
                       ว่า ตัวชี้วัดดังกล่าว มีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความเหมาะสม ด้านความเป็นไปได้ ด้านความ

                       สอดคล้อง และด้านความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับน้อย (ค่าคะแนนการเลือกตอบ = 2) โดยผู้ให้ข้อมูล

                       ส าคัญได้ให้ข้อสนเทศเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดค าอธิบายตัวชี้วัดว่า ควรเน้นการจัดโครงสร้างเพื่อเกิด
                       ผลสัมฤทธิ์ต่อภารกิจด้วย ส่วนชื่อตัวชี้วัดควรจะเป็นการตรวจสอบถ่วงดุล เพราะการแบ่งแยกหน้าที่

                       เหมือนเป็นเรื่องของ Function มากกว่า Check and Balance

                                         3.1.2) ตัวชี้วัดที่ 2 การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ผู้ให้ข้อมูลส าคัญมี
                       ความเห็นว่า ตัวชี้วัดดังกล่าว มีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง

                       (ค่าคะแนนการเลือกตอบ = 3) มีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความเป็นไปได้อยู่ในระดับปานกลาง

                       (ค่าคะแนนการเลือกตอบ = 3) มีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความสอดคล้องอยู่ในระดับมาก
                       (ค่าคะแนนการเลือกตอบ = 4) และมีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมาก

                       (ค่าคะแนนการเลือกตอบ = 4) โดยผู้ให้ข้อมูลส าคัญได้ให้ข้อสนเทศเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดค าอธิบาย

                       ตัวชี้วัดว่า ควรปรับค าอธิบายให้สะท้อนการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพที่มาจากการจัดโครงสร้าง
                                         3.1.3) ตัวชี้วัดที่ 3 ความผูกพันกับกฎหมาย และกฎ ระเบียบต่าง ๆ ผู้ให้

                       ข้อมูลส าคัญมีความเห็นว่า ตัวชี้วัดดังกล่าว มีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความเหมาะสม ด้านความ

                       เป็นไปได้ ด้านความสอดคล้อง และด้านความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมาก (ค่าคะแนนการเลือกตอบ =
                       4) โดยผู้ให้ข้อมูลส าคัญได้ให้ข้อสนเทศเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดค าอธิบายตัวชี้วัดว่า ค าอธิบายเป็น

                       เรื่องค านึงถึงบุคคลที่จะได้รับผลกระทบ แต่ชื่อตัวชี้วัดเป็นเรื่องการปฏิบัติตามกฏหมายไม่สอดคล้องกัน

                                         3.1.4) ตัวชี้วัดที่ 4 ความชอบด้วยกฎหมายในทางเนื้อหา ผู้ให้ข้อมูลส าคัญมี
                       ความเห็นว่า ตัวชี้วัดดังกล่าว มีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับน้อย (ค่าคะแนน

                       การเลือกตอบ = 2) โดยผู้ให้ข้อมูลส าคัญได้ให้ข้อสนเทศเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดค าอธิบายตัวชี้วัดว่า

                       ควรปรับค าอธิบาย มีกฎระเบียบ ข้อบังคับในการปฏิบัติงานอย่างเคร่งครัด เพราะค าว่าเคร่งครัดเป็นเรื่อง
                       การปฏิบัติ ไม่ใช่เรื่องเนื้อหา

                                         3.1.5) ตัวชี้วัดที่ 5 ความมีอิสระในการปฏิบัติหน้าที่ ผู้ให้ข้อมูลส าคัญมี

                       ความเห็นว่า ตัวชี้วัดดังกล่าว มีระดับคุณภาพของตัวชี้วัดด้านความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง





                                                      โครงการวิจัยพัฒนาฐานข้อมูลองค์ความรู้ด้านธรรมาภิบาล (Phase 2)   328
   359   360   361   362   363   364   365   366   367   368   369