Page 71 - kpi20896
P. 71

70



              มีอิทธิพลอย่างไม่มีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีความสามารถในการพยากรณ์ด้วยแบบจ้าลองที่ 0.156

              และค่า Durbin-Watson จะมีค่าที่ 2.195 ซึ่งสะท้อนว่าไม่มีปัญหา autocorrelation ที่อาจส่งผลให้เกิด

              ปัญหาความสัมพันธ์ที่ไม่จริง (Spurious Regression) จึงถือเป็นผลการทดสอบที่เชื่อถือได้


                            เมื่อพิจารณาขนาดอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผลต่อสัมประสิทธิ์ความเหลื่อมล้้าได้ที่ลดลงพบว่า

              สัดส่วนการว่างงานจากประชากรวัยแรงงาน (UNEMT)  มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.437 (t = 2.132670, p =

              0.03*) กล่าวคือหากมีระดับการว่างงานเพิ่มมากขึ้นร้อยละ 43.7 จะท้าให้เกิดค่าความเหลื่อมล้้าตามการ

              ค้านวณสัมประสิทธิ์เพิ่มขึ้น 1 หน่วย ในขณะที่รายได้มวลรวมประชาชาติต่อหัวประชากรตามการค้านวณ

              ค่าเงินสากล (GNI_PPINTER) มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 9.130 (t =2.578953, p = 0.01**) นั่นคือการที่ประเทศ

              มีรายได้มวลรวมตามค่าเงินสากลเพิ่มขึ้น 9.130 ล้านดอลล่าร์สหรัฐจะมีความเหลื่อมล้้าเพิ่มมากขึ้น 1 หน่วย

                            ส้าหรับตัวแปรที่ไม่มีนัยส้าคัญทางสถิติ ได้แก่ สัดส่วนการส่งออกสินค้าและการบริการ


              ต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Ex_GS) ที่มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 0.048681 (t = 1.146535, p = 0.25)
              เงินลงทุนสุทธิจากนอกประเทศตามค่าเงินดอลล่าร์สหรัฐอเมริกา (FOREIGN) ที่มีขนาดอิทธิพลที่เท่ากับ -


              2.5200   (t = -0.467476, p = 0.6414) สัดส่วนการจ้างงานในภาคอุตสาหกรรมจากการจ้างงานรวม

              (EMP_INDUST) ที่มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ -0.192 (t = -1.002401, p = 0.3192) ค่าเงินเฟ้อรายปีต่อเนื่อง

              (Inf_Linked) ที่มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ -0.027 (t = -1.428288, p = 0.1571)  ดัชนีการควบคุมการทุจริต

              (COFC) ที่มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ 2.634 (t = 1.448673, p = 0.15138) ดัชนีการมีสิทธิ์มีเสียงของประชาชน

              และความสามารถตรวจสอบได้ (VOICE) ที่มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ -1.603 (t = -0.833944, p =0.4068) และ

              สัดส่วนประชากรที่อาศัยในชุมชนเมืองจากจ้านวนประชากร (URBAN_TP) ที่มีขนาดอิทธิพลเท่ากับ -0.567

              (t = -1.267248, p = 0.2087)  แม้ว่าปัจจัยเหล่านี้จะไม่มีนัยส้าคัญทางสถิติ  อย่างไรก็ดี ทิศทางของอิทธิพล

              มีความสอดคล้องกับทฤษฎี กล่าวคือปัจจัยเหล่านี้มีผลท้าให้ความเหลื่อมล้้าลดลงหรือมีทิศทางเป็นลบนั่นเอง


              4.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสัดส่วนการกระจายรายได้ไปสู่กลุ่มผู้มีรายได้ต่้าที่สุดร้อยละ 10


                     จากการทดสอบแบบจ้าลองในส่วนก่อนหน้า ที่พบผลของปัจจัยที่สามารถน้าไปสู่การลดความ

              เหลื่อมล้้าด้านรายได้ผ่านดัชนีสัมประสิทธิ์ความเหลื่อมล้้าของกลุ่มประเทศรายได้ปานกลาง อย่างไรก็ดีตัวแปร

              ที่มีอิทธิพลเป็นตัวแปรในเชิงโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ท้าให้แนวนโยบายที่ได้จากผลการวิเคราะห์จะเป็น

              แนวทางการแก้ปัญหาเชิงมหภาค  ในขณะที่ปัญหาส้าคัญอีกประการ คือ ผลกระทบจากความเหลื่อมล้้าที่

              เกิดขึ้นกับคนยากจนที่สุด ที่มักได้รับผลกระทบมากกว่าผู้ที่มีรายได้สูงเสมอ  ดังนั้นผู้วิจัยจึงพยายามหาความ

              เชื่อมโยงและค้นลงลึกไปในประเด็นความเหลื่อมล้้าว่า จะท้าอย่างไรหรือมีปัจจัยใดที่จะช่วยให้เกิดการเพิ่มขึ้น
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76