Page 277 - kpi20767
P. 277

252



                       ตารางที่  5.29  การทดสอบเอกพันธ์มิติความแปรปรวน (Homogeneity of Variances)

                                            Box's Test of Equality of Covariance Matrices
                                                                              Box's M
                                               Test Statistics
                                                                               223.22

                                                     F                          1.47
                                                    df1                          3

                                                    df2                        292.00

                                                    Sig.                         .22


                               จากตารางที่ 5.29 พบว่า นัยส าคัญของการทดสอบเอกพันธ์มิติความแปรปรวน
                       (Homogeneity of Variances) โดยการใช้ Box's Test of Equality of Covariance Matrices เพื่อ

                       หาความแปรปรวนภายในกลุ่มตัวอย่าง มีนัยทางสถิติมากกว่านัยส าคัญที่ก าหนดไว้ในการทดสอบ ซึ่ง

                       แปลผลได้ว่า กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ไม่มีความแปรปรวนภายในกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งเป็นไป
                       ตามเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว (One-way

                       MANOVA) และการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรง (Multiple Linear Regression)

                                   4.4 การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของตัวแปร
                       ตามในการวิจัย

                                     ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของตัวแปร

                       ตามในการวิจัย โดยใช้การทดสอบด้วย Bartlett's Test of Sphericity ดังตารางที่ 5.30 ดังนี้


                       ตารางที่  5.30  การทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของตัวแปรตามในการวิจัย

                                                    Bartlett's Test of Sphericity
                                                                         Approx. Chi-Square
                                               Test Statistics                 1823.33
                                               Likelihood Ratio                 1.47

                                                     df                          20
                                                    Sig.                        .00 **


                                                                                               จากตารางที่
                       5.30 พบว่า ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบของตัวแปรตามในการวิจัย โดยใช้การ

                       ทดสอบด้วย Bartlett's Test of Sphericity พบว่ามีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งน้อยกว่า

                       นัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้ในการทดสอบ ซึ่งแปลผลได้ว่า องค์ประกอบของตัวแปรตามที่ใช้ในการ
                       วิจัยครั้งนี้ มีความสัมพันธ์ระหว่างกัน ซึ่งเป็นไปตามเงื่อนไขและข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์

                       ความแปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว (One-way MANOVA)
   272   273   274   275   276   277   278   279   280   281   282