Page 64 - kpi20488
P. 64
สร้างสรรค์สื่อเพื่อสังคมสันติสุข 63
2) มุมมองต่อผู้รับสาร
ประช�ชนมีคว�มอิสระม�กขึ้นในก�รเลือกเสพสื่อหรือช่องท�งใน
ก�รรับข่�วส�ร ต่�งคนต่�งเลือกเสพในสิ่งที่ตนสนใจ ต่�งคนต่�งซึมซับ
คว�มคิดและทัศนะบ�งอย่�งโดยอ�จไม่มีก�รวิเคร�ะห์อย่�งรอบด้�น หรือ
มองให้ครบทั้งในแง่บวกและแง่ลบเสียก่อน จึงเป็นเหตุให้สื่อเข้�ม�มีอิทธิพล
ในก�รทำ�ล�ยคว�มสันติสุขในสังคมได้
5.2 ผู้ทรงคุณวุฒิในกลุ่มสื่อโทรทัศน์
1) มุมมองต่อตนเอง
สื่อต้องยึดถือจรรย�บรรณต�มวิช�ชีพ บทบ�ทหน้�ที่ในก�รสร้�ง
ค่�นิยมที่พึงประสงค์ในสังคม หรือนำ�เสนอข่�วส�รสู่สังคม ก�รครอบงำ�สื่อ
ทั้งจ�กอำ�น�จรัฐและทุนท�งธุรกิจ ทำ�ให้สื่อเสนอข่�วเพียงด้�นเดียว เป็นก�ร
ขัดต่อจรรย�บรรณวิช�ชีพของสื่อ
2) มุมมองต่อผู้รับสาร
ส�เหตุสำ�คัญประก�รหนึ่งของก�รเกิดคว�มขัดแย้งขึ้นในสังคมม�จ�ก
ก�รรับรู้ข่�วส�รเพียงด้�นเดียว ซึ่งปัญห�เกิดจ�กก�รที่ผู้คนมีคว�มสนใจหรือ
เลือกรับสื่อใด ก็จะเลือกรับฟังเฉพ�ะสื่อนั้นเท่�นั้น และเลือกไม่รับฟังหรือ
ไม่เปิดรับสื่อที่ตนไม่ชอบหรือไม่สนใจ กล�ยเป็นก�รเลือกข้�ง ในขณะที่ผู้คน
บ�งกลุ่มพร้อมจะเชื่อข้อมูลที่ได้รับโดยไม่คิดวิเคร�ะห์เนื้อห�ว่�เป็นจริงหรือ
เป็นเท็จ หรือมีเหตุมีผลสมควรให้เชื่อถือได้หรือไม่ และด้วยเหตุที่ก�รเข้�ถึง
ข้อมูลข่�วส�รในปัจจุบัน ทำ�ได้อย่�งรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผู้คน
ทุกกลุ่มวัยส�ม�รถรับข่�วส�รได้อย่�งอิสระและไร้ขีดจำ�กัด จึงยิ่งเป็นก�ร
โหมกระพือคว�มขัดแย้งให้ขย�ยวงออกไปได้อย่�งรวดเร็วและง่�ยด�ยยิ่งขึ้น