Page 291 - kpi19912
P. 291

รับรองอนุสัญญาองค์การแรงงานระหวํางประเทศ ฉบับที่ 188  (  C188)  และหนังสือขอความ
                   อนุเคราะห์แก๎ไขปัญหาประมง โดยมีนายกมล ไกรวัตนุสสรณ์ อุปนายกสมาคมการประมงสมุทรสาคร

                   กับนายบรรพต อินทร์คชสาร ประธานชมรมอวนล๎อม เป็นตัวแทนของพี่น๎องชาวประมงจังหวัด
                   สมุทรสาคร ในการยื่นหนังสือทั้ง 2 ฉบับถึง พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี ผํานทางนาย
                   ประภัสสร์ มาลากาญจน์ ผู๎วําราชการจังหวัดสมุทรสาคร และการยื่นหนังสือคัดค๎านการที่รัฐบาลจะ
                   ไปให๎สัตยาบันเพื่อรับรองอนุสัญญาองค์การแรงงานระหวํางประเทศ ฉบับที่ 188 ( C188) กับหนังสือ

                   ขอความอนุเคราะห์แก๎ไขปัญหาประมง ยังเป็นการยื่นพร๎อมกันของพี่น๎องชาวประมงในพื้นที่ 22
                   จังหวัดชายทะเลทั่วประเทศอีกด๎วย
                         ส าหรับการออกมาคัดค๎านรัฐบาลที่จะไปให๎สัตยาบันเพื่อรับรองอนุสัญญาองค์การแรงงาน

                   ระหวํางประเทศ ฉบับที่ 188 ( C188) นั้น เนื่องด๎วยทางสมาคมการประมงสมุทรสาคร และสมาคม
                   การประมงทั่วประเทศทั้ง 22 จังหวัดชายทะเลพิจารณาแล๎วเห็นวํา ถ๎ารัฐบาลไปรํวมให๎สัตยาบันเพื่อ
                   รับรองอนุสัญญาองค์การแรงงานระหวํางประเทศ ฉบับที่ 188 จะกํอให๎เกิดความเสียหาย และสํงผล
                   กระทบอยํางรุนแรงตํอชาวประมงไทยอยูํหลายประการ จะท าให๎เกิดปัญหาทับถมเพิ่มขึ้นและท าลาย
                   อุตสาหกรรมประมงทะเลของไทยทั้งระบบ ตลอดจนการจ๎างแรงงานภาคการประมงของประเทศไทย

                   ด๎วยเชํนกัน ดังนั้นสมาคมการประมงสมุทรสาคร และสมาชิกชาวประมง จึงขอคัดค๎านการที่รัฐบาลจะ
                   ไปลงนามให๎สัตยาบัน อนุสัญญาองค์การแรงงานระหวํางประเทศฉบับที่ 188
                         สํวนหนังสือขอความอนุเคราะห์แก๎ไขปัญหาประมงนั้น สืบเนื่องจากการที่รัฐบาลไทยได๎มีการ

                   ด าเนินการแก๎ไขปัญหาตํางๆ ด๎านการประมงอยํางเรํงดํวน ทั้งการออกกฎหมาย และการให๎อ านาจ
                   เจ๎าหน๎าที่ของรัฐอยํางเบ็ดเสร็จในการขับเคลื่อนมาตรการตํางๆ บังคับใช๎กฎหมายอยํางเข๎มงวด
                   เพื่อให๎เป็นที่ยอมรับของสหภาพยุโรป (EU) ในการปลดล็อคการให๎ใบเหลือง เนื่องจากประเทศไทยถูก
                   ระบุวําเป็นประเทศที่สาม ที่ไมํให๎ความรํวมมือในการตํอต๎านการท าประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการ

                   รายงาน และไร๎การควบคุม (IUU)  พร๎อมทั้งแนะน าให๎ประเทศไทย ด าเนินการปรับปรุงกฎหมาย
                   กฎระเบียบ และการจัดการด๎านการประมงของไทยให๎สอดคล๎องกับกฎระเบียบของสหภาพยุโรป
                   จนสร๎างปัญหาความเดือดร๎อน ขาดความเป็นธรรมในการพิจารณากฎหมาย สํงผลกระทบตํอ
                   เศรษฐกิจ สังคม และประเทศชาติอยํางรวดเร็วและรุนแรง และสํงผลกระทบโดยตรงตํอชาวประมง

                   โดยเฉพาะชาวประมงที่ประกอบอาชีพโดยสุจริตได๎รับความเดือดร๎อนเป็นวงกว๎าง หลายครอบครัว
                   ประสบกับปัญหาที่ไมํคาดคิดมากํอน เชํน ผู๎น ามีภาระหนี้สิน บุตรหลานต๎องพักการศึกษา กิจการ
                   ล๎มละลาย    ถูกด าเนินคดีโดยไมํได๎กระท าความผิด เป็นต๎น
                         ทั้งนี้ ทางสมาคมการประมงสมุทรสาคร จึงต๎องการให๎นายกรัฐมนตรีน าข๎อร๎องเรียนของ

                   ชาวประมงไปสูํการแก๎ไขใน 7  ด๎าน คือ 1.เรื่องการขาดแคลนแรงงาน ในภาคประมง ได๎มีการเสนอ
                   ขอให๎เปิดให๎คนตํางด๎าวที่อยูํในราชอาณาจักรไทยอยํางผิดกฎหมาย เปิดให๎บุคคลที่ไมํมีสถานะทาง
                   ทะเบียน (ไร๎สัญชาติ ถือบัตรหมายเลขศูนย์) ท าเอกสารซีบุ๏คได๎ เพื่อท างานในเรือประมง ซึ่งมีความ

                   ต๎องการแรงงาน จ านวน 50,000 คน และให๎มาตรการนี้เปิดใช๎ตลอดระยะเวลา 2 ปี, 2. รัฐบาลกับ
                   การซื้อเรือคืน ขอให๎รัฐบาลด าเนินการจัดท าโครงการน าเรือประมงออกนอกระบบ เพื่อการจัดการ
                   ทรัพยากรประมงทะเลที่ยั่งยืน หรือซื้อเรือคืนตามแผนบริหารจัดการประมงทะเล ด าเนินการเรื่องการ
                   ซื้อเรือคืนโดยเร็วที่สุด, 3.ขอให๎กรมสวัสดิการและคุ๎มครองแรงงาน ด าเนินการปรับปรุงแก๎ไข กฎ และ
                   ระเบียบตํางๆ ที่ออกมาบังคับใช๎กับผู๎ประกอบการเรือประมงให๎มีความเสมอ ทัดเทียมกับอาชีพอื่นๆ,

                   4.ในสํวนของกรมเจ๎าทําขอให๎ออกประกาศกฎข๎อบังคับการตรวจเรือฯ ตามที่ได๎มีการปรับปรุงแก๎ไข
                   แล๎ว เมื่อคราวประชุมวันที่ 26 เมษายน 2561 ด๎วย เพื่อให๎ชาวประมงได๎ออกไปท าการประมงได๎อยําง

                                                           285
   286   287   288   289   290   291   292   293   294   295   296