Page 239 - kpi19912
P. 239
ผู้เกี่ยวข้องอื่น:
ผู๎วําราชการจังหวัดราชบุรี นายอ าเภอสวนผึ้ง สมาชิกสภาผู๎แทนราษฎร ดีเอสไอ ส านักงานปฎิรูป
ที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ส านักงานธนารักษ๑พื้นที่ราชบุรี คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหํงชาติ สื่อมวลชน
ระยะเวลา: พ.ศ.2540 – พ.ศ.2561
สถานะ: ก าลังอยูํในระหวํางการแก๎ไขปัญหา แตํก็เป็นไปได๎ยากมาก เพราะที่ดินมีราคาสูงขึ้น และมี
นักการเมือง/ผู๎มีอิทธิพลเข๎ามาเกี่ยวข๎องเรื่องผลประโยชน๑อยํางสูง
พลวัต: สถานการณ๑มีการคลี่คลายในบางสํวนผู๎มีสํวนได๎เสียที่เกี่ยวข๎องได๎พยายามที่จะหาทางออก
ระดับความรุนแรง: มีความเสียหายตํอทรัพย๑สินและรํางกายโดยมีผู๎เสียชีวิต
วิธีการแก้ไข:
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา เช่น
1. กรมธนารักษ๑ได๎เชิญสํวนราชการที่เกี่ยวข๎อง ได๎แกํ กองทัพบก และจังหวัดราชบุรีมาประชุม
เพื่อรํวมก าหนดแนวทางแก๎ไขปัญหาการบุกรุก และพิจารณาข๎อเสนอของราษฎรและมีการเดินทางไปดู
สภาพพื้นที่เพื่อตรวจสอบข๎อเท็จจริงเกี่ยวกับการบุกรุกเพื่อให๎ได๎ข๎อมูลในอันที่จะก าหนดแนวทางแก๎ไข
ปัญหา
2. กลุํมที่เป็นปัญหา ได๎แกํ กลุํมผู๎ขอเชํา เพื่ออยูํอาศัยและท าการเกษตร กรมธนารักษ๑ท าการ
ตรวจสอบรังวัดจัดท าแผนที่และพิจารณาตามหลักเกณฑ๑การจัดให๎เชําโดยต๎องอยูํในเงื่อนไข ไมํเป็นพื้นที่
ฝึกของหนํวยทหาร ไมํเป็นพื้นที่ลุํมน้ าปุาต๎นน้ าล าธาร พื้นที่ลาดชันเกิน 19 องศา หากคุณสมบัติครบถ๎วน
จะสามารถจัดท าสัญญาให๎เชําได๎
สํวนกลุํมผู๎เชําเดิมจะมีการตรวจสอบการครอบครองเนื้อที่ หากพบวํามีการบุกรุกครอบครอง
เกินเขตเชําหรือจัดให๎เชําไมํถูกหลักเกณฑ๑ก็จะท าการลดเนื้อที่หรือระงับการตํอสัญญาเชํา รวมถึงการใช๎
ที่ดินต๎องเป็นไปตามวัตถุประสงค๑
3.การที่ รัฐมนตรีประจ าส านักนายกรัฐมนตรี ได๎ลงพื้นที่ดูแลปัญหาความขัดแย๎ง
ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง เชํน การที่หนํวยงานภาครัฐใช๎หลักธรร
มาภิบาลในการจัดการ การเสนอขําวข๎อเท็จจริงของสื่อมวลชน เป็นต๎น
แหล่งข้อมูล:
ศูนย๑ด ารงธรรมจังหวัดราชบุรี “บุกรุกที่ราชพัสดุอ.สวนผึ้ง มีแนวโน้มรุนแรง.” สถานีโทรทัศน๑ทีวีไทย
สปริงนิวส๑. “ข๎อพิพาทที่ดินราชพัสดุ อ.สวนผึ้ง.” 11 สิงหาคม 2559.
234