Page 97 - kpi19910
P. 97
87
เดือดร้อนขาดแคลนน าส าหรับอุปโภคบริโภคและท าการเกษตรในฤดูแล้ง (ตามหนังสือส านักราช
เลขาธิการที่ รล 0005.5/7837 ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 2553) โดยปี 2554 กรมชลประทาน
ด าเนินการก่อสร้างสระเก็บน า ขนาดความจุ 200,000 ลูกบาศก์เมตร จ านวน 1 แห่ง พร้อมอาคาร
ประกอบ อีกทั ง ก่อสร้างอาคารรับน า จ านวน 2 แห่ง และอาคารระบายน า จ านวน 1 แห่ง ในการนี
ในช่วงของการก่อสร้างจึงมีการจัดตั งกลุ่มผู้ใช้น าอ่างเก็บน าอ่าวใหญ่ขึ น เมื่อวันที่ 7 เมษายน 2553
เพื่อให้ราษฎรบริหารจัดการน ากันเองให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยมีกรมชลประทานเป็นพี่เลี ยงในการ
จัดตั งกลุ่ม ในตอนแรกเริ่มมีปัญหาความไม่เข้าใจกันเกิดขึ น เนื่องจากมีการคิดเก็บค่าน าเพื่อมาบริหาร
แต่ตอนหลังสามารถสร้างความเข้าใจร่วมกันได้ เพราะเมื่อมีข้อมูลเปรียบเทียบกับเกาะอื่น ๆ ใน
ประเทศไทย เกาะพยามถือว่าถูกกว่าเกาะอื่น ๆ ในการเก็บค่าน า ท าให้ราษฎรเกิดความเข้าใจและมี
ความพอใจในการมีน าใช้ตลอด 24 ชั่วโมง
ส าหรับการบริหารจัดการน ามีความเข้มแข็งมากขึ นจึงได้ยกฐานะเป็นสหกรณ์ผู้ใช้น า
ชลประทานเกาะพยามจ ากัด โดยชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และกรมชลประทานได้วางแผน
ปรับปรุง เช่น เสริมตัวท านบเพื่อเพิ่มความจุ หรือหาแหล่งน าบริเวณใกล้เคียงเพื่อรองรับการขยายตัว
ของเกาะพยามในทุก ๆ ด้าน
คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
1. ชาวบ้านเกาะพยามไม่เข้าใจและไม่เห็นด้วยต่อการเก็บค่าน าเพื่อน ามาบริหาร
2. กรมชลประทานให้มีการคิดเก็บค่าน าเพื่อน ามาบริหาร
ผู้เกี่ยวข้องอื่น :
1. นายกองค์การบริหารส่วนต าบลเกาะพยาม
2. รองนายกองค์การบริหารส่วนต าบลเกาะพยาม
ระยะเวลา : มากกว่า 3 ปี (พ.ศ. 2553-2556)
สถานะ : ได้รับการแก้ไขแล้ว
พลวัต :
สืบเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนน าของประชาชนในบางช่วง องค์การบริหารส่วนต าบลเกาะ
พยามขอโครงการพระราชด าริ และเมื่อมีการจัดตั งกลุ่มผู้ใช้น าท าให้เกิดปัญหาความไม่เข้าใจกัน
เนื่องจากมีการคิดเก็บค่าน าเพื่อมาบริหาร โดยกรมชลประทานยืนยันต้องมีการเก็บค่าน าดังกล่าว ซึ่ง
ของพื นที่เกาะพยามถูกว่าที่อื่น ท าให้คลี่คลายปัญหาความไม่เข้าใจที่เกิดขึ นได้
ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั งต่อทรัพย์สินและร่างกาย
วิธีการแก้ไข :
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
การพูดคุยด้วยเหตุผล และให้ข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงเปรียบเทียบกับพื นที่อื่น ๆ