Page 160 - kpi19910
P. 160
150
ตัดสินใจ หรืออนุมัติ ซึ่งปัจจุบัน พ.ร.บ.หิน พ.ศ.2547 ได้ยกเลิกไปแล้ว ส่วน พ.ร.บ.ออกกฎหมายแร่
ใหม่ออกบังคับใช้เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม 2560 ต้องตรวจสอบว่าพื นที่เหมืองแร่ ต าบลปากแจ่ม อ าเภอ
ห้วยยอดเป็นแร่หิน หรือแร่หินปูน
ด้านนายศิริพัฒ กล่าวว่า อุตสาหกรรมเหมืองแร่นั นมีคณะกรรมการแร่แห่งชาติ โดยมี
นายกรัฐมนตรีเป็นประธาน ซึ่งผู้ว่าฯ สรุปว่าไม่ว่าเขาจะประกาศใช้หรือไม่ ให้ทางตัวแทนชุมชนแนบ
เอกสารไม่เห็นด้วยส่งไปด้วยพร้อมกัน และจะส่งเอกสารไปยังคณะกรรมการแร่แห่งชาติทันที ซึ่ง
ขณะนี ตนยังไม่ทราบว่าคณะกรรมการแร่แห่งชาติจะประชุมเมื่อใด โดยส่งมอบเอกสารให้กับหน่วยงาน
ที่เกี่ยวข้อง อุตสาหกรรมจังหวัด กระทรวงทรัพยากร และศูนย์ด ารงธรรมด าเนินการ “ขอให้ใจเย็น ๆ
กลับไปพักผ่อนให้สบายใจ เพราะการด าเนินการอนุมัติการท าเหมืองนั นยังอีกนานหลายปี” ส าหรับ
บรรยากาศบริเวณด้านหน้าห้องท างานผู้ว่าราชการจังหวัดตรัง ได้มีชาวบ้านจ านวนหนึ่ง ได้ขึ นป้าย
คัดค้านการสัมปทานแหล่งหิน ต าบลปากแจ่ม เนื่องจากเป็นพื นที่ยังมีมีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ยังมีสัตว์
ป่านานาชนิด มีถ าผึ ง ที่ฝูงผึ งมาอาศัยแต่ละปีกว่า 100 รัง จึงขอคัดค้านการให้สัมปทานกลุ่มทุนในการ
ท าอุตสาหกรรมหินทุกรูปแบบ
คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
1. ชาวบ้านต าบลปากแจ่ม อ าเภอห้วยยอด คัดค้านการสัมปทานเหมืองแร่ภูเขาปูนน าผึ ง
ไม่ให้เกิดการท าเหมืองแร่ แม้ได้ข้อมูลว่าไม่มีการลงนามให้สัมปทาน
2. บริษัทรับสัมปทานเหมืองแร่ แต่อุตสาหกรรมจังหวัดปฏิเสธให้สัมปทาน
ผู้เกี่ยวข้องอื่น :
1. คณะกรรมการแร่แห่งชาติ
2. อุตสาหกรรมจังหวัด
ระยะเวลา : มากกว่า 2 ปี (พ.ศ. 2560-2561)
สถานะ : ก าลังอยู่ระหว่างการแก้ไข
พลวัต :
บริษัทรับสัมปทานเหมืองแร่แต่อุตสาหกรรมจังหวัดปฏิเสธให้สัมปทาน โดยชาวบ้านต าบล
ปากแจ่ม อ าเภอห้วยยอด คัดค้านการสัมปทานเหมืองแร่ภูเขาปูนน าผึ งไม่ให้เกิดการท าเหมืองแร่ แม้ได้
ข้อมูลว่าไม่มีการลงนามให้สัมปทาน และชาวบ้านยืนยันไม่ต้องการนายทุนท าอุตสาหกรรมหินทุก
รูปแบบ
ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั งต่อทรัพย์สินและร่างกาย
วิธีการแก้ไข :
กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
1. ชาวบ้านได้ขึ นป้ายคัดค้านการสัมปทานแหล่งหินต าบลปากแจ่ม เนื่องจากอาจส่งผล
กระทบเป็นพื นที่ยังมีสภาพสิ่งแวดล้อมที่ดี ยังมีสัตว์ป่านานาชนิด