Page 156 - kpi19910
P. 156

146






                      คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
                               1. ชาวบ้านต าบลบ้านควน จังหวัดตรังเกิดความขัดแย้งกับภาครัฐเนื่องจากสูญเสียที่ดิน

                      ที่ท ากินบางส่วนจากการถูกประกาศที่ดินเป็นที่สาธารณะประโยชน์
                               2. กรมที่ดิน มีการประกาศที่สาธารณประโยชน์ทับซ้อนพื นที่บางส่วนที่เป็นที่ดินท ากินของ
                      ชาวบ้าน


                      ผู้เกี่ยวข้องอื่น :
                               คณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐจังหวัดตรัง (กบร.ตรัง)

                      ระยะเวลา : มากกว่า 15 ปี (พ.ศ. 2540-2559)

                      สถานะ : ได้รับการแก้ไข


                      พลวัต :
                               ชาวบ้านต าบลบ้านควน จังหวัดตรัง เกิดความขัดแย้งกับภาครัฐเนื่องจากสูญเสียที่ดิน ที่ท า

                      กินบางส่วนจากการถูกประกาศที่ดินเป็นที่สาธารณะประโยชน์ กรมที่ดิน มีการประกาศที่
                      สาธารณประโยชน์ทับซ้อนพื นที่บางส่วนที่เป็นที่ดินท ากินของชาวบ้าน โดยชาวบ้านต้องท าการ
                      ร้องเรียนเพื่อสิทธิที่ดินท ากินของตนเอง โดยผ่านการพิสูจน์สิทธิในที่ท ากินของตนเอง จนในที่สุดการ
                      ต่อสู้ก็ประสบความส าเร็จ


                      ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั งต่อทรัพย์สินและร่างกาย

                      วิธีการแก้ไข :
                      กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
                               1. กระบวนการเรียนรู้ของชาวบ้านผ่านกระบวนการวิจัย จึงน าซึ่งการพิสูจน์สิทธิได้ที่ดิน
                      กลับคืนมา

                               2. กระบวนการถอดบทเรียนน ามาซึ่งการสร้างการมีส่วนร่วมในการต่อสู้เพื่อที่ดินท ากิน
                               3. การต่อรอง พูดคุย ให้เหตุผลน ามาซึ่งสิทธิชุมชนของตนเอง

                      ปัจจัยที่จะสนับสนุนเพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง คือ
                               1. สิทธิชุมชนของตนเอง

                               2. ศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชนของตนเอง

                      ผลกระทบที่เกิดขึ้น :
                               ความวิตกกังวลต่อการสูญเสียที่ท ากินที่อยู่มายาวนาน


                      ที่มาของข้อมูล :
                               1. สัมภาษณ์ตัวแทนชาวบ้านในพื นที่
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161