Page 152 - kpi19910
P. 152

142






                      42. ความขัดแย้งที่ดินโดยภาครัฐในพื้นที่เทือกเขาบรรทัด


                      พื้นที่ : แนวเทือกเขาบรรทัด จังหวัดตรัง


                      ประเภทความขัดแย้ง : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (ที่ดิน)

                      ระดับการรับรู้ของสังคม : ระดับชาติผ่านสื่อทางสังคมหลากหลายทั งวิทยุและโทรทัศน์ หนังสือพิมพ์

                      และเอกสารวิชาการผ่านงานวิจัย

                      ประเด็นขัดแย้ง :
                               ประกาศให้ต าบลท่างิ วเขตพื นที่ป่าเทือกเขาบรรทัดในเขาป่าเทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 1 ตอน

                      ที่ 2 ต าบลละมอ ต าบลน  าผุด และต าบลช่องเขตป่าเทือกเขาทัดแปลงที่ 1 ตอนที่ 1 เป็นพื นที่ป่า
                      คุ้มครองและป่าสงวน  น ามาสู่การทับซ้อนกับที่ท ากินและอยู่อาศัยเดิมของประชาชน  ซึ่งได้อยู่อาศัย
                      และท ากินมาก่อน  และเมื่อมีการประกาศการคุ้มครองป่าท าให้ประชาชนในพื นที่ได้รับความเดือดร้อน


                      ความเป็นมา :
                               จากการประกาศป่าคุ้มครองและป่าสงวนขึ นในเทือกเขาบรรทัด  การประกาศป่าคุ้มครอง
                      และป่าสงวนในพื นที่ได้เกิดขึ นเมื่อมีการประกาศพระราชบัญญัติคุ้มครอง และสงวนป่าในเขตต าบล

                      หนองปรือพุทธศักราช 2504  ซึ่งต าบลหนองปรือนั นตั งอยู่ในพื นที่ป่าเทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 1 ตอนที่
                      3 ต่อมาในปีพุทธศักราช 2508 ก็ประกาศให้ต าบลช่อง ต าบลนาชุมเห็ด ต าบลปะเหลียน  ซึ่งตั งอยู่ใน
                      เขตป่าเทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 2 ตอนที่ 1  เป็นพื นที่ป่าคุ้มครอง และป่าสงวนและปีพุทธศักราช
                      2510 ได้ประกาศให้ต าบลท่างิ วเขตพื นที่ป่าเทือกเขาบรรทัดในเขาป่าเทือกเขาบรรทัดแปลงที่ 1 ตอนที่

                      2 ต าบลละมอ ต าบลน  าผุด และต าบลช่องเขตป่าเทือกเขาทัดแปลงที่ 1 ตอนที่ 1 เป็นพื นที่ป่าคุ้มครอง
                      และป่าสงวน  น ามาสู่การทับซ้อนกับที่ท ากินและอยู่อาศัยเดิมของประชาชน  ซึ่งได้อยู่อาศัยและท ากิน
                      มาก่อน  และเมื่อมีการประกาศการคุ้มครองป่า  ท าให้ประชาชนในพื นที่ได้รับความเดือดร้อนและ

                      กลายเป็นบุคคลที่บุกรุกป่าไปโดยไม่รู้ตัว  เป็นเหตุที่ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งด้านที่ดินระหว่าง
                      ภาครัฐกับภาคประชาชนขึ นในพื นที่แถบเทือกเขาบรรทัดในเขตจังหวัดตรัง ท าให้ประชาชนผู้เดือดร้อน
                      รวมตัวเรียกร้องให้ภาครัฐแก้ไขปัญหาพื นที่ป่าสงวนทับซ้อนพื นที่ท ากินของประชาชน  โดยมีองค์การ
                      บริหารส่วนต าบลละมอและองค์การบริหารส่วนต าบลช่องเข้ามาช่วยแก้ไขปัญหาที่ดินโดยมีการลง
                      พื นที่ส ารวจข้อมูลที่ดินท ากิน มีการด าเนินการพิสูจน์สิทธิ์ครอบครอง มีการรับรองสิทธิ์ในการท ากิน

                      รวมถึงหน่วยงานภาครัฐและประชาชนร่วมประชุมและหาแนวทางร่วมกันเพื่อบรรเทาปัญหาเบื องต้น
                      ให้กับประชาชน ตลอดจนการไกล่เกลี่ยความขัดแย้งที่เกิดขึ นระหว่างประชาชนกับประชาชนและ
                      ประชาชนกับเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่ที่ผ่านมาก็เป็นเพียงการบรรเทาปัญหาและชะลอปัญหาไม่ให้มีความ

                      รุนแรง นายเรวัตร อินทร์ช่วย ผู้ฟ้องในนามบุคคล กล่าวเสริมว่า ที่บ้านตระ จังหวัดตรัง ก่อตั งชุมชนมา
                      ไม่ต่ ากว่า 100 ปี ทางราชการมีการรับรองบ้านตระเอาไว้ในแผนที่ พ.ศ. 2457 แต่ต่อมาก็ถูกเขตรักษา
                      พันธุ์สัตว์ป่าเทือกเขาบรรทัดประกาศทับซ้อนพื นที่ ใน พ.ศ. 2518 ส่งผลให้ตนถูกด าเนินคดีอาญา
                      ข้อหาบุกรุกป่า 4 ครั ง และอาจจะถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายข้อหาท าให้โลกร้อนตามมาอีกด้วย หาก

                      ยังไม่มีการยกเลิกการบังคับใช้แบบจ าลองดังกล่าว จึงตัดสินใจยื่นฟ้องร้องในครั งนี  “ชาวบ้านพยายาม
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157