Page 149 - kpi19910
P. 149

139






                                     กรณีศึกษาโครงการตามแนวนโยบายภาครัฐจังหวัดตรัง


                      41. คัดค้านโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชีวมวล

                      พื้นที่ : ต าบลนาท่ามใต้ อ าเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง


                      ประเภทความขัดแย้ง : ทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อม (พลังงาน)

                      ระดับการรับรู้ของสังคม :  ระดับท้องถิ่น มีการสื่อสารผ่านสื่อออนไลน์บ้าง


                      ประเด็นขัดแย้ง :
                               ชาวบ้านต าบลนาท่ามใต้ อ าเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง คัดค้านโครงการก่อสร้างโรงไฟฟ้า
                      ชีวมวล ซึ่งบริษัท ตรัง กรีน เพาเวอร์ จ ากัด มีความประสงค์ในการสร้างโรงไฟฟ้าเพื่อผลิตไฟฟ้าขาย
                      ให้แก่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค


                      ความเป็นมา :
                               บริษัท ตรัง กรีนเพาเวอร์ จ ากัด จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นประชาชน โครงการก่อสร้าง
                      โรงไฟฟ้าชีวมวล ขนาด 9.5 เมกะวัตต์ ด้วยงบ 800 ล้านบาท ในพื นที่ต าบลนาท่ามใต้ อ าเภอเมืองตรัง

                      โดยมีทั งฝ่ายที่เห็นด้วย และไม่เห็นด้วย เมื่อวันที่ 19 ตุลาคม 2557 ที่วัดนานอน ต าบลนาท่ามใต้
                      อ าเภอเมือง จังหวัดตรัง ได้จัดให้มีการประชุมรับฟังความคิดเห็นของประชาชนต่อมาตรการป้องกัน
                      แก้ไข และติดตามตรวจสอบผลกระทบสิ่งแวดล้อม โครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กจากพลังงานชีวมวล
                      โดยมีตัวแทน บริษัท ตรัง กรีน เพาเวอร์ จ ากัด นายกองค์การบริหารส่วนต าบล (อบต.) นาท่ามใต้

                      ก านัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้น าชุมชน และประชาชนในพื นที่เข้าร่วมประมาณ 200 คน โดย นายสมศักดิ์
                      ธนกิจวัฒนา กรรมการ ผจก.บริษัท เอ็นไว เวริด์ จ ากัด นายอภิภัทร์ นวลทา วิศวกรโครงการฯ และ
                      นายปรีชาวิทย์ รอดรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญการสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นบริษัทเอกชนที่ถูกว่าจ้างให้ชี แจงท าความ
                      เข้าใจต่อประชาชนในพื นที่ เรื่องผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตชุมชน กรณีที่ได้มีการเสนอ

                      โครงการผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กจากพลังงานชีวมวล ขนาด 9.5 เมกะวัตต์ ในพื นที่ต าบลนาท่ามใต้ อ าเภอ
                      เมืองตรัง ด้วยงบประมาณ 800 ล้านบาท โดยทางบริษัทมีแผนที่จะก่อสร้างแล้วเสร็จภายในปี 2559
                      ภายในระยะเวลา 24 เดือน เพื่อผลิตไฟฟ้าขายให้แก่การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค (กฟภ.)
                               การเปิดเวทีรับฟังความคิดเห็นในครั งนี  ประชาชนแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มที่เห็นด้วย

                      จะเป็นผู้น าชุมชน พร้อมผู้สนับสนุน เนื่องจากก่อนหน้านี มีรายงานว่า ทางบริษัทได้จัดให้ผู้น าชุมชนใน
                      พื นที่เดินทางไปศึกษาดูงานมาแล้ว ยังโรงไฟฟ้าที่ประสบความส าเร็จ และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
                      น้อย ส่วนกลุ่มที่ไม่เห็นด้วยจะเป็นประชาชนที่มีความตื่นรู้ในข้อมูล ข่าวสาร และบางคนก็มี

                      ประสบการณ์จากชีวิตจริง จึงมีความเป็นห่วงว่า หากมีการสร้างโรงงานขึ นในชุมชน จะเป็นการท าลาย
                      สิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ และมีผลกระทบต่อภาคการเกษตร ซึ่งเป็นวิถีชีวิตดั งเดิม โดยชาวบ้านระบุว่า
                      พื นที่ที่คาดว่าจะสร้างโครงการเป็นพื นที่สีเขียว มีความอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งน  า เป็นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตที่
                      หลากหลาย และก าลังจะพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ส าคัญของจังหวัดตรัง ซึ่งหากมีผลกระทบเกิดขึ น
                      จะไม่ใช่เฉพาะคนในพื นที่ต าบลนาท่ามใต้เท่านั น แต่จะหมายถึงคนจังหวัดตรังอีกหลายพื นที่จะได้รับ

                      ผลกระทบไปด้วย เนื่องจากพื นที่ดังกล่าวเป็นพื นที่ต้นน  าที่มีการน าน  าไปผลิตเป็นประปาเพื่ออุปโภค
   144   145   146   147   148   149   150   151   152   153   154