Page 107 - kpi19910
P. 107

97






                                     กรณีศึกษาโครงการตามแนวนโยบายภาครัฐจังหวัดพังงา


                      26. ต่อต้านการสร้างแนวกันคลื่นหาดท้ายเหมือง


                      พื้นที่ : อ าเภอท้ายเหมือง จังหวัดพังงา
                      ประเภทความขัดแย้ง : ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม


                      ระดับการรับรู้ของสังคม :  ระดับท้องถิ่น ที่มีการรวมตัวสื่อสารผ่านสื่อท้องถิ่นบ้าง

                      ประเด็นขัดแย้ง :
                               กลุ่มนักวิชาการและนักอนุรักษ์หวั่นกระทบระบบนิเวศและหลุมไข่เต่ามะเฟือง จึงต่อต้าน

                      กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งในการสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่ง

                      ความเป็นมา :
                               จากการเกิดกระแสต่อต้านโครงการสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่งใน อ าเภอท้ายเหมือง จังหวัด
                      พังงา หวั่นกระทบระบบนิเวศและหลุมไข่เต่ามะเฟือง ด้านอธิบดี ทช. เตรียมลงพื นที่ตรวจสอบ

                      หากพบส่งผลกระทบชายหาดและสิ่งแวดล้อมอย่างมากจะบังคับใช้อ านาจตามกฎหมายยับยั ง
                      โครงการฯ โดยในวันที่ 30 ธ.ค.2561 เกิดกระแสต่อต้านในกลุ่มนักวิชาการและนักอนุรักษ์ต่อกรณี
                      โครงการสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่ง บริเวณวัดเทสก์ธรรมนาวา (วัดท่าไทร) ใน อ.ท้ายเหมือง จ.พังงา
                      เพราะเกรงว่าจะกระทบต่อระบบนิเวศ หลังพบเต่ามะเฟืองขึ นมาวางไข่บนชายหาด เมื่อวันที่ 26

                      ธันวาคม ที่ผ่านมา ซึ่งหลุมไข่เต่าห่างจากจุดที่มีการก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่ง ประมาณ 200 เมตร
                      ขณะที่ในสื่อสังคมออนไลน์ มีการเผยแพร่ภาพกองหินขนาดใหญ่และรถแบ็คโฮที่ก าลังขุดทรายบริเวณ
                      ชายหาดหน้าวัดท่าไทร โดยตั งข้อสังเกตว่าโครงการนี ผ่านการท าประชาพิจารณ์หรือไม่ พร้อมกับ
                      เรียกร้องให้ช่วยกันคัดค้านโครงการฯ

                             นายศักดิ์อนันต์ ปลาทอง อาจารย์ประจ าภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
                      มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้ข้อมูลกับไทยพีบีเอสออนไลน์ว่า โครงการนี เป็นโครงการของจังหวัด
                      ด าเนินการมาตั งแต่เดือน มีนาคม 2561 แม้ชื่อโครงการจะเป็นการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่ง แต่ใน
                      ความเป็นจริงการสร้างแนวกันคลื่นจะยิ่งท าให้มีการกัดเซาะเพิ่มขึ น ทั งนี ได้แจ้งเรื่องไปยังกรม

                      ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง (ทช.) เพื่อให้ใช้อ านาจตามกฎหมายสั่งยับยั ง และที่ส าคัญช่วงเวลานี มี
                      เต่ามะเฟืองขึ นมาวางไข่ จึงเชื่อว่าสาเหตุที่เจ้าหน้าที่เร่งฝั่งหินและถมทราย เพราะกลัวว่าหากมีคนมา
                      เห็นว่ามีเต่าขึ นมาวางไข่ อาจจะไม่สามารถด าเนินการต่อได้ เพราะการที่เต่าขึ นมาวางไข่บนหาด

                      หมายถึงพื นที่มีความสมบูรณ์ ล่าสุดพบว่ารถแบ็คโฮที่เข้ามาถมหินและกลบทรายออกจากพื นที่ไปแล้ว
                      แต่ยังเหลือร่องรอยของการท างาน ทั งนี  การกระท าดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศโดยตรง ทั ง
                      การกัดเซาะชายฝั่งและกระทบกับพฤติกรรมสัตว์
                               ด้านนายจตุพร บุรุษพัฒน์ อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง ระบุว่า โครงการ
                      ดังกล่าวมีการด าเนินการไปก่อนหน้านี แล้ว ซึ่งทาง ทช.ก็ได้สังเกตและติดตามการท างานเบื องต้นยังไม่

                      พบว่ามีผลกระทบ แต่ถ้าหากเห็นว่าโครงการดังกล่าวส่งผลกระทบกับชายหาดและสิ่งแวดล้อมอย่าง
                      มากก็จะบังคับใช้มาตรา 17 พ.ร.บ.ส่งเสริมการบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112