Page 73 - kpi19164
P. 73
จัดตั้งขึ้นทั้งในส่วนรำชกำร รัฐวิสำหกิจ และส่วนของประชำชน มำจนถึง พ.ศ. 2494 มีสหกรณ์
ประเภทต่ำงๆ 8,151 แห่ง จ ำนวนสมำชิกทั้งหมด 249,175 คน ในจ ำนวนนี้ 7,763 ของสหกรณ์ เป็น
65
สหกรณ์ “หำทุน” มีสมำชิก 145,603 คน ประมำณร้อยละ 5 ของชำวนำต้องเป็นสมำชิกสหกรณ์
ไม่ประเภทใดก็ประเภทหนึ่ง แต่กระบวนกำรท ำงำนของสหกรณ์ก็ยังคงไม่สำมำรถแก้ไขปัญหำของ
ชำวนำทั้งหมดได้ เพรำะที่ผ่ำนมำในกระบวนกำรด ำเนินงำนสหกรณ์ สหกรณ์เป็นสถำบันที่ได้รับกำร
อุปถัมภ์จำกรัฐบำลมำโดยตลอด ที่เข้ำมำควบคุมและริเริ่มแผนงำนต่ำงๆ จำกรัฐบำลกลำงแทนที่จะ
มำจำกกลุ่มชำวนำเอง ในภำพรวมของสหกรณ์หำทุนประสบควำมส ำเร็จพอสมควร และตั้งแต่
ด ำเนินกำรมำ 35 ปี มีเพียง 3 แห่งที่ล้มเหลว แต่กลับประสบควำมส ำเร็จในกำรระดมทุนภำยใน
ท้องถิ่นน้อยมำก เพรำะส่วนใหญ่ได้รับกำรสนับสนุนเงินทุนจำกรัฐบำลเป็นหลัก จึงท ำให้กระบวนกำร
สหกรณ์มีขนำดเล็กและเติบโตไปอย่ำงช้ำๆ ด้วยควำมระมัดระวัง นอกจำกนี้ ปัญหำของกำรด ำเนิน
กิจกำรสหกรณ์ คือ สมำชิกได้ลืมเจตนำรมณ์ของสหกรณ์ที่เน้นกำรพัฒนำจิตใจที่ท ำงำนร่วมกัน แต่
ชำวนำส่วนใหญ่มองสหกรณ์เป็นเหมือนหน่วยงำนสงเครำะห์และใช้ประโยชน์จำกสหกรณ์ผิดทำง
โดยหวังประโยชน์จำกกำรเป็นสมำชิก เช่น กำรกู้เงินระยะยำวโดยเสียดอกเบี้ยร้อยละ 8 และน ำมำ
66
ให้ผู้ที่มิใช่เป็นสมำชิกกู้ต่อโดยคิดอัตรำดอกเบี้ยที่สูงกว่ำ
กำรเปลี่ยนแปลงครั้งส ำคัญที่สุดของขบวนกำรสหกรณ์ในประเทศไทย ก็คือ กำรควบ
สหกรณ์หำทุนเข้ำด้วยกัน โดยทำงรำชกำรได้ออกพระรำชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 เปิดโอกำสให้
สหกรณ์หำทุนขนำดเล็กที่ด ำเนินธุรกิจเพียงอย่ำงเดียวควบเข้ำกันเป็นขนำดใหญ่ สำมำรถขยำยกำร
ด ำเนินธุรกิจเป็นแบบอเนกประสงค์ซึ่งจะเป็นประโยชน์แก่สมำชิกได้มำกกว่ำ ด้วยเหตุนี้สหกรณ์หำ
ทุน จึงแปรสภำพเป็นสหกรณ์กำรเกษตรมำจนปัจจุบัน และในปี พ.ศ. 2511 สันนิบำตสหกรณ์แห่ง
ประเทศไทยได้ถือก ำเนิดขึ้นมำ เพื่อเป็นสถำบันส ำหรับให้กำรศึกษำแก่สมำชิกสหกรณ์ทั่วประเทศ มี
หน้ำที่ติดต่อประสำนงำนกับสถำบันสหกรณ์ต่ำงประเทศ เพื่อให้เกิดควำมสัมพันธ์และควำม
ช่วยเหลือ ร่วมมือกันระหว่ำงสหกรณ์สำกลในด้ำนอื่นๆ ที่มิใช่เกี่ยวกับกำรด ำเนินธุรกิจโดยมีสหกรณ์
ทุกประเภทเป็นสมำชิก ซึ่งประเทศไทยได้ก ำหนดประเภทสหกรณ์ไว้ 6 ประเภท ตำมประกำศ
กฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ พ.ศ. 2516 ประกอบด้วย
65 ลักษณะของ “สหกรณ์หำทุน” คือ สมำชิกมีควำมรับผิดชอบแบบไม่จ ำกัดต่อหนี้สินของตนเองและสหกรณ์ และกำรให้กู้เงินแก่
สมำชิกต้องมีอสังหำริมทรัพย์เป็นหลักประกันเต็มจ ำนวน แต่ละสหกรณ์ถูกก ำหนดให้มีสมำชิกจ ำนวนน้อย เช่น พ.ศ. 2494 จ ำนวนถัว
เฉลี่ยของสมำชิกในแต่ละสหกรณ์ประมำณ 19 คน กำรคัดเลือกสมำชิกเป็นไปอย่ำงรอบคอบ สมำชิกต้องเป็นชำวนำที่มีที่นำเป็นของ
ตัวเอง (อำจมีข้อยกเว้นส ำหรับผู้เช่ำชั้นดีน้อยรำย) อ้ำงใน เจมส์ ซี อินแกรม, แปลโดย ชูศรี มณีพฤกษ์ และเฉลิมพงษ์ เอี่ยมกมลำ,
(2552), การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในประเทศไทย 1850-1870, น. 95.
66 เจมส์ ซี อินแกรม, แปลโดย ชูศรี มณีพฤกษ์ และเฉลิมพงษ์ เอี่ยมกมลำ, (2552), การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในประเทศไทย
1850-1870 (กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้ำประเทศไทยและมูลนิธิโครงกำรต ำรำสังคมศำสตร์และมนุษยศำสตร์), หน้ำ 94-96.
64