Page 198 - kpi17968
P. 198
187
ธนัตถ์นันท์ เอียดพวง (2554). การประเมินโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ ศึกษา
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโพธิ์แทน จังหวัดนครนายก. สารนิพนธ์,
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต (นโยบายสาธารณะ) มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ.
ธมนวรรณ รอดเข็ม. (2554). การวิเคราะห์คุณภาพชีวิตผ้สูงอายุหลังจากได้รับเบี้ย
ยังชีพ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอเมือง จังหวัดตรัง.
รายงานการศึกษาอิสระ รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการ
ปกครองท้องถิ่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นงณพร ทับทิมทวีโชค. (2556). “ความรู้ความเข้าใจและความคิดเห็นของเกษตรกร
ผู้ปลูกข้าวกลุ่มจังหวัดอีสานตอนใต้ที่มีต่อโครงการประกันรายได้
เกษตรกร,” วารสารการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, 20(2), 5-32.
ภัทรวดี ซอกดุลย์. (2557). “การประเมินผลโครงการสวัสดิการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ
ขององค์การบริหารส่วนตำบลพระแก้ว อำเภอภาชี จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา,” วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 1(1).
พรชัย ฐีระเวชและคณะ. (2555). โครงการวิจัยเรื่องการศึกษาเพื่อวิเคราะห์
แนวโน้มรายจ่ายด้านสวัสดิการสังคมของภาคสาธารณะเมื่อเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร: สำนักนโยบายการคลัง สำนักงาน
เศรษฐกิจการคลัง.
พิมพ์ฑักษอร แสงทองไชย. (2558). “ผลการนำนโยบายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ กรณี
ศึกษา เทศบาลนครระยอง,” บทความนำเสนอในการประชุมวิชาการ
ระดับชาติ ประจำปี 2558 (RSU National Research Conference
2015). มหาวิทยาลัยรังสิต กรุงเทพมหานคร.
ระพีพรรณ คำหอมและคณะ (2546). รายงานวิจัยการประเมินโครงการบริการ
สวัสดิการสังคมเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในประเทศไทย.
กรุงเทพมหานคร: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัย
ธรรมศาสตร์.
การประชุมกลุมยอยที่ 1