Page 390 - kpi16531
P. 390
นวัตกรรมการพัฒนารายได้ 3 3
ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
แผนภาพที่ 25: แสดงแหล่งกู้ยืมเงินของเทศบาล
นอกจากนี้หากพิจารณาเฉพาะแหล่งเงินกู้ที่มาจากสถาบันการเงินจะพบว่า
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีการกู้เงินจากสถาบันการเงินต่างๆ ตามตารางที่ 52 นี้ (พิชิตชัย
กิ่งพวง, 2556: 75-77)
ตารางที่ 52: การกู้เงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำแนกตามตามสถาบันการเงินที่ปล่อยกู้และ
จุดประสงค์ในการกู้เงิน ระหว่างปี พ.ศ.2541– วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2555 (โดยเป็นจำนวนเงิน
ที่ได้รับการอนุมัติ และเป็นกรณีการกู้เงินจากสถาบันการเงินเท่านั้น)
เงินกู้เพื่อดำเนินการตาม เงินกู้เพื่อเป็นทุนหมุนเวียน รวม
อำนาจหน้าที่ ของสถานธนานุบาล
ลำดับที่ สถาบันการเงิน
จำนวน จำนวน จำนวน
โครงการ จำนวนเงิน โครงการ จำนวนเงิน โครงการ จำนวนเงิน
1) ธนาคารกรุงไทย 449 14,456.98 230 6,572.42 679 21,029.40
(49.3%) (50.1%) (46.1%) (48.3%) (48.2%) (49.5%)
2) ธนาคารออมสิน 232 9,862.22 218 5,056.52 450 14,928.50
(25.5%) (34.2%) (43.7%) (37.2%) (31.9%) (35.1%)
3) ธกส. 103 2,109.75 44 1,809.00 147 3,918.75
(11.3%) (7.3%) (8.8%) (13.3%) (10.4%) (9.2%)
4) ธนาคารธนชาต 0 0 5 96.00 5 96.00
(0%) (0%) (1.0%) (0.7%) (0.4%) (0.2%)
5) กองทุนพัฒนาเมืองในภูมิภาค 122 1,610.74 0 0 122 1,610.74
(13.4%) (5.6%) (0%) (0%) (8.7%) (3.8%)
6) กองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือ 1 15.00 0 0 1 15.00
เกษตรกร (0.1%) (0.1%) (0%) (0%) (0.1%) (0%)
7) รัฐบาลเดนมาร์ก 1 786.96 0 0 1 786.96
(0.1%) (2.7%) (0%) (0%) (0.1%) (1.9%)
8) SME Bank 2 17.54 0 0 2 17.54
(0.2%) (0.1%) (0%) (0%) (0.1%) (0%)
9) ธนาคารนครหลวงไทย 0 0 2 60.00 2 60.00
(0%) (0%) (0.4%) (0.4%) (0.1%) (0.1%)
10) ไม่ระบุ 1 8.00 0 0 1 8.00
(0.1%) (0.0%) (0%) (0%) (0.1%) (0%)
รวมทั้งสิ้น 911 28,876.96 499 13,593.93 1,410 42,470.89