Page 41 - kpi15860
P. 41
0 1
การบริหารงาน นอกเหนือไปจากการตรวจสอบการทำงานของฝ่ายสภา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง Based Solid Waste Management: CBM) ซึ่งเป็นเครื่องมือสำคัญที่จะสามารถสนองตอบ
ทางเทศบาลได้มีการกำหนดกรอบแนวคิดผ่านการสร้างวัฒนธรรมองค์กรด้วยการประกาศ แนวคิดชุมชนน่าอยู่ได้เพราะทำให้ปัญหาขยะในพื้นที่ลดลงอย่างเห็นได้ชัด กล่าวคือ ก่อนเริ่ม
มาตรฐานด้านคุณธรรมและจริยธรรมไว้ให้พนักงานเทศบาล ลูกจ้างประจำของเทศบาล มีการจัด ดำเนินโครงการจะมีขยะอยู่ที่ 720 กิโลกรัม/วัน แต่หลังจากร่วมโครงการชุมชนปลอดขยะ
ตั้งศูนย์ข้อมูลข่าวสารในชุมชนทั้ง 19 ชุมชน จัดตั้งศูนย์ป้องกันการทุจริตของเทศบาลที่ตั้งขึ้นในปี มีปริมาณขยะอยู่ที่ 330 กิโลกรัม/วัน ส่งผลให้ชุมชนมีสภาพแวดล้อมที่ดีขึ้น เป็นชุมชน
พ.ศ. 2555 ของสำนักงาน ป.ป.ช. ไร้ขยะสสะอาดสวยงาม ปราศจากความเสี่ยงต่อโรคที่อาจมาจากภัยขยะ จนในที่สุดโครงการนี้ได้
รับการผ่านเกณฑ์การประเมิน “โคราชเมืองสะอาด“ Korat Green and Clean ระดับดีเยี่ยม
4. ประสิทธิภาพ และประสิทธิผล คือ เป็นแนวทางที่นำมาปฏิบัติใช้ในการดำเนิน ประจำปี 2555 – 2556 จากจังหวัดนครราชสีมา
โครงการหรือกิจกรรมต่างๆ ของเทศบาล ทั้งนี้เพื่อประโยชน์สูงสุดต่อเทศบาลและประชาชน
การส่งเสริมกลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนบ้านมูลตุ่น
สำหรับนวัตกรรมและการดำเนินงานที่เป็นเลิศที่สะท้อนให้เห็นถึงความเป็นเลิศ
ด้านความโปร่งใสและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนของเทศบาลเมืองสีคิ้ว ได้แก่ แนวคิดเรื่องการก่อตั้งกลุ่มออมทรัพย์ของชุมชนเป็นเพียงความฝันในระยะแรกของชุมชน
โครงการชุมชนปลอดขยะ (ชุมชนบ้านเหนือ) บ้านมูลตุ่นที่ต้องการให้สมาชิกของชุมชนมีเงินออมไว้ใช้สอยในครัวเรือนในกรณีฉุกเฉินหรือมีเหตุ
จำเป็น ซึ่งสมาชิกในชุมชนมีความไว้วางใจและรู้จักกันเป็นอย่างดี ดังนั้น จึงมีความเห็นร่วมกันว่า
ชุมชนเมืองที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วภายในพื้นที่เขตเทศบาล ปัญหาสำคัญของการขยายตัว ควรจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ของชุมชนขึ้น แต่ในขณะนั้นทางชุมชนบ้านมูลตุ่นยังไม่มีความรู้และ
ของชุมชนดังกล่าวในพื้นที่ คือ ปัญหาขยะซึ่งมีแนวโน้มที่ทางเทศบาลไม่สามารถจัดเก็บขยะได้หมด ความเข้าใจในการบริหารกิจการออมทรัพย์ ดังนั้น ชุมชนบ้านมูลตุ่นจึงขอให้เทศบาลเข้ามาชี้แนะ
ในแต่ละวัน นอกจากนี้ ปัญหาขยะยังส่งผลต่อการเกิดความเสี่ยงทางด้านสุขภาวะของประชาชน แนวทางในการบริหารกิจการออมทรัพย์อย่างเป็นระบบ มีการคัดเลือกคณะกรรมการที่จะเข้ามา
ในพื้นที่ อาทิ เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะพันธุ์ของพาหะนำโรค เช่น แมลงวัน แมลงสาบ ยุง บริหารจัดการพร้อมจัดทำระเบียบข้อบังคับ กติกาการฝากเงินและการกู้เงินเพื่อการลงทุนหรือเพิ่ม
เป็นต้น ซึ่งเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค มีกลิ่นเหม็นและก่อให้เกิดความรำคาญสทำลาย นำไปต่อยอดการประกอบอาชีพได้ โดยจัดให้สมาชิกกลุ่มมีการฝากหุ้นละ 20 บาทขึ้นไปแต่ไม่เกิน
สุนทรียภาพด้านสิ่งแวดล้อม ดังนั้น วิธีการแก้ไขปัญหาขยะของชุมชนที่ดีที่สุด คือ การแก้ไขปัญหา 2,000 บาท ต่อ 1 คน และให้มีการปันผลให้แก่สมาชิกกลุ่ม ปีละ 1 ครั้ง ซึ่งการกำหนดเงินออม
พื้นฐานโดยเริ่มต้นภายในจากชุมชนซึ่งทางเทศบาลได้เริ่มดำเนินการร่วมกับชุมชนบ้านเหนือตั้งแต่ปี ดังกล่าวไม่ให้เกิน 2000 บาทเพราะชุมชนเห็นร่วมกันว่าหากคิดจะสะสมเงินควรจะเริ่มจากการ
พ.ศ. 2553 จนถึงปัจจุบัน สะสมทีละน้อยก่อน และเห็นว่าการออมทรัพย์เป็นเรื่องของการให้ความไว้เนื้อเชื่อใจแก่กันว่า
บรรดาสมาชิกทุกคนมีความมุ่งมั่นที่จะร่วมกันสะสมทรัพย์ของตนเอง ด้วยเหตุนี้ จึงตั้งชื่อกลุ่มว่า
โครงการชุมชนปลอดขยะนั้นเริ่มจากการที่ทางเทศบาลร่วมกับชุมชนในการสร้างความรู้
และความเข้าใจให้ชุมชนก่อน หลังจากนั้นได้มีการลงมือปฏิบัติการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังด้วยการ ‘กลุ่มสัจจะออมทรัพย์ชุมชนบ้านมูลตุ่น’ โดยเริ่มดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2544 จนถึงปัจจุบัน
ให้สมาชิกจำนวน 254 ครัวเรือนได้ดำเนินการคัดแยกขยะของตนเองในแต่ละครัวเรือนควบคู่ไปกับ เป็นเวลา 13 ปี มีสมาชิกจำนวน 482 คน และมีเงินทุนให้กู้ยืม จำนวน 3,167,289 บาท
การประสานบริษัท วงษ์พาณิชย์ จำกัด ซึ่งเป็นบริษัทที่เชี่ยวชาญเรื่องการบริหารจัดการขยะเพื่อ (สามล้านหนึ่งแสนหกหมื่นเจ็ดพันสองร้อยแปดสิบเก้าบาทถ้วน) อย่างไรก็ดี สิ่งที่สำคัญของการ
นัดหมายวันเวลาในการมารับซื้อขยะต่อจากชุมชน โดยชุมชนบ้านเหนือจะมีกิจกรรมการรีไซเคิล จัดตั้งกลุ่มก็เพื่อฝึกฝนให้สมาชิกรู้จักการเก็บออมเพื่ออนาคตของสมาชิกในชุมชนนั่นเอง
ขยะทุกวันศุกร์สัปดาห์ที่ 4 ของเดือน และยังได้ขยายกิจกรรมซื้อขายขยะรีไซเคิลไปที่ชุมชนบ้าน
โนนกุ่ม ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นเครือข่ายชุมชนสะอาดและเป็นตัวอย่างการต่อยอดของโครงการ
ดังกล่าว วิธีการที่ชุมชนบ้านเหนือนำมาใช้นี้เป็นการจัดการขยะมูลฝอยโดยชุมชน (Community
รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57 รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57