Page 39 - kpi15860
P. 39

ตนเองผ่านเวทีต่างๆ ทั้งนี้เพื่อให้ได้กิจกรรมหรือโครงการที่สอดคล้องกับความต้องการในพื้นที่    ฝ่ายบริหารให้อยู่ภายใต้ระเบียบปฏิบัติ
        มากกว่าที่จะให้ฝ่ายเทศบาลเป็นผู้ริเริ่มทำโครงการ
                                                                                                    2.  คณะผู้บริหาร คือ กลุ่มผู้บริหารงานที่มีหน้าที่ในการขับเคลื่อนภารกิจและนโยบายเพื่อ
              3.  ร่วมทำ หมายถึง โครงการหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นนั้นประชาชนมีส่วนร่วมในการ      ตอบสนองต่อความต้องการของประชาชนในพื้นที่
        ดำเนินการเอง เช่น โครงการชุมชนปลอดขยะ (บ้านเหนือ) ซึ่งเป็นโครงการที่ประสบความสำเร็จ
        ด้วยการสร้างการมีส่วนร่วมของชุมชน ลดปริมาณขยะในพื้นที่ และมีการขยายต่อโครงการเป็น           3.  ข้าราชการพนักงาน คือ กลุ่มข้าราชการและเจ้าหน้าที่ในการนำนโยบายของฝ่ายบริหาร

        เครือข่ายในชุมชนใกล้เคียง เป็นต้น                                                     และร่วมกันขับเคลื่อนกิจกรรมและโครงการต่างๆ ตามแผนงานที่กำหนดไว้
              4.  ร่วมแก้ไขปัญหา หมายถึง การส่งเสริมให้สมาชิกในชุมชนมีศักยภาพ และมีส่วนร่วม         4.  ประชาสังคม คือ กลุ่มประชาชนที่เข้ามาร่วมกันผลักดันให้แผนงานหรือกิจกรรมต่างๆ

        ในกลไกการพัฒนาเมืองให้ยั่งยืน กล่าวคือ การพัฒนาให้สมาชิกชุมชนร่วมถกเถียง วิพากษ์วิจารณ์  ของเทศบาลสามารถประสบความสำเร็จ นอกจากนี้ ยังเป็นกลุ่มที่ยังสร้างความเข้มแข็งให้แก่
        การทำงานของเทศบาล ให้ข้อแนะนำ และคำนึงถึงต่อประโยชน์ส่วนร่วมของเทศบาลทั้งนี้เพื่อร่วม  ประชาชนในการเรียกร้องต่อผลประโยชน์สาธารณะในพื้นที่
        กันแก้ไขปัญหาต่างๆ ในพื้นที่ได้ตรงจุดและตอบสนองต่อความต้องการของสมาชิกในชุมชน ซึ่งใช้       5.  ภาครัฐ คือ องค์กรหรือหน่วยงานส่วนกลางในพื้นที่ที่คอยดูและอำนวยความสะดวก
        เวทีการประชุมประชาคมในแต่ละชุมชนเพื่อให้ประชาชนได้ร่วมกันเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา         ให้แก่เทศบาลในการขับเคลื่อนภารกิจที่สำคัญ รวมทั้งการประสานงานและดูแลความสัมพันธ์
        ดังกล่าว                                                                              ระหว่างภาคส่วนต่างๆ ร่วมกับเทศบาลเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของประชาชนในพื้นที่

              5.  ร่วมตรวจสอบ หมายถึง การให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมทางตรงและสร้างกลไกล              6.  กฎหมาย คือ เครื่องมือที่เป็นหลักเกณฑ์มาตรฐานในการบริหารงานของเทศบาลและ
        การตรวจสอบการทำงานของเทศบาลอย่างแท้จริง เช่น การแต่งตั้งประชาชนในชุมชนให้เข้ามาเป็น   องค์กรที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะเป็นเครื่องมือก่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อบและสร้างความถูกต้อง

        กรรมการจัดซื้อจัด การแจ้งเบาะแสให้เทศบาลทราบถึงปัญหาการทุจริตในโครงการของเทศบาล       นำมาซึ่งความโปร่งใสและการมีส่วนร่วมในการทำงานของเทศบาล
        ใช้วิธีการมีส่วนร่วมของกรรมการชุมชนเพื่อเป็นคณะกรรมการในการเปิดซองสอบราคา และเป็น
        คณะกรรมการในตรวจรับงานจ้าง                                                            กลไกที่สาม : หลัก 4 ป. ได้แก่

              6.  ร่วมรับประโยชน์  หมายถึง ผลความสำเร็จในภารกิจของเทศบาลริเริ่มจากสมาชิก            1.  ปฏิบัติตามระเบียบ ได้แก่ การบริหารงานภายในเทศบาลจะต้องมีการปฏิบัติตามหลัก
        ในชุมชน และสมาชิกเป็นผู้ดำเนินการ และผลักดันโครงการ แน่นอนว่าสมาชิกในชุมชนได้รับ      กฎหมายอย่างถูกต้อง ดังนั้น วิธีการของทางเทศบาลจึงจะควบคุมและยึดระเบียบวิธีการทำงาน
        ประโยชน์ทางตรง เช่น โครงการทางด้านสาธารณูปโภค ด้านการศึกษา สาธารณสุขอย่างทั่วถึง      อย่างเคร่งครัด โดยเฉพาะเรื่องงบประมาณและการบริหารงานคลัง เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง การ
        นอกจากนี้ ประโยชน์ดังกล่าวส่งผลให้คุณภาพชีวิตของสมาชิกในชุมชนมีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น    กำหนดราคากลาง การใช้แผนที่ภาษี การเร่งรัดลูกหนี้ การควบคุมการเบิกจ่ายวัสดุในสำนักงาน


        กลไกที่สอง : หลัก 6 ล้อ                                                                     2.  ประหยัด กล่าวคือ แนวทางของโครงการหรือกิจกรรมที่เกิดขึ้นของเทศบาลจำเป็นต้อง
              หลัก 6 ล้อ หมายถึง การบริหารงานแบบทีม เพื่อให้กิจกรรมและโครงการต่างๆ ของ        คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด เช่น การประหยัดงบประมาณ และการดำเนินการกิจกรรม

        เทศบาลเกิดการมีส่วนร่วมและความโปร่งใสในการบริหารงาน อันประกอบด้วย                     เพื่อการประหยัดพลังงาน
                                                                                                    3.  โปร่งใส คือ การบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลเป็นเป้าหมายใช้พระราชบัญญัติ
              1.  สภาเทศบาล คือ ฝ่ายสภาที่มีหน้าที่ตรวจสอบการบริหารงานของฝ่ายบริหารเพื่อให้
        ภารกิจและโครงการต่างๆ ของเทศบาลมีความโปร่งใส ครอบคลุม รวมทั้งกำกับติดตามประเมินผล     ข้อมูลข่าวสารเป็นเครื่องมือในการสื่อสารให้ประชาชนได้เข้ามาร่วมตรวจสอบและติดตาม


        รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57                                                                                                            รางวัลพระปกเกล้าทองคำ’ 57
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44