Page 338 - kpi15860
P. 338

6                                                                          7


 จึงได้เจรจาขอคืนพื้นที่ป่าทั้งหมดคืนมาได้ในปี พ.ศ. 2537 โดยผู้นำหมู่บ้านทุกหมู่บ้านได้พูดคุยกับ     =  ผลด้านสังคม ทำให้เกิดความร่วมมือของชาวบ้านในการทำกิจกรรมดูแลรักษาป่า
 ประชาชนในหมู่บ้านของตัวเอง โดยไม่มีข้อพิพาทใดๆ    และเกิดเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชนใกล้เคียง รวมทั้งหน่วยงานทั้งภาครัฐ
                     เอกชน ให้การสนับสนุนทั้งงบประมาณและด้านวิชาการ
   หลังจากได้รับคืนพื้นที่ป่าโคกหลวงทั้งหมด ผู้นำหมู่บ้านได้ร่วมกับองค์การบริหาร

 ส่วนตำบลสวนหม่อนในการฟื้นคืนสภาพป่าโคกหลวง โดยร่วมประชุมเสนอแนะแนวทางการดูแล     =  ผลด้านการพัฒนาตนเอง ทำให้ชุมชนเกิดการเรียนรู้และพัฒนาตนเอง เช่น
 ป่า และเข้าร่วมกิจกรรมการดูแลป่า เช่น ร่วมโครงการปลูกป่า ร่วมออกตรวจป่าเพื่อป้องกันการ  การประชุมวางแผน และติดตามผลการทำงาน การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร
 ลักลอบตัดไม้ทำลายป่า รวมถึงการนำประกาศ ประชาสัมพันธ์ต่างๆ ไปแจ้งให้ประชาชนในหมู่บ้าน  การศึกษาดูงาน การสัมมนาวิชาการ การฝึกอบรม และการเป็นวิทยากรให้กับ
 ของตนเองได้ทราบและขอความร่วมมือให้ปฏิบัติอย่างเคร่งครัดในโครงการหรือนโยบายการดูแล  ชุมชนอื่นเพื่อขยายผลต่อไป
 ป่าขององค์การบริหารส่วนตำบลสวนหม่อน ซึ่งส่งผลให้การดูแลรักษาป่าโคกหลวงประสบผลสำเร็จ


    4. เครือข่าย อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน  (อสม.)
   ในฐานะแกนนำด้านการพัฒนาสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน  มีบทบาทในการ

 เป็นผู้นำการดำเนินงานพัฒนาสุขภาพอนามัย  และคุณภาพชีวิตของประชาชนในหมู่บ้าน/ชุมชน
 และเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมด้านสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชน ตลอดจนการ
 สร้างกระแสการเคลื่อนไหวของประชาชนให้มีส่วนร่วมพัฒนาสุขภาพของชุมชน  ได้เข้ามามีบทบาท
 ในการร่วมดูแลรักษาป่าโคกหลวง คือ ร่วมเป็นส่วนหนึ่งในการให้ความรู้เรื่องการอนุรักษ์
 ป่าโคกหลวง ร่วมลงพื้นที่สำรวจสมุนไพร และส่งเสริมให้ประชาชนใช้ยาสมุนไพรในการดูแลรักษา

 สุขภาพ

   จากความร่วมมือของเครือข่ายโครงการรักษ์ป่าโคกหลวง ก่อให้เกิดผลลัพธ์ในหลาย
 มิติ เช่น

    =  ผลด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า เกิดความสมดุลของระบบนิเวศน์ทางธรรมชาติ สภาพ
 พื้นป่ามีความสมบูรณ์ขึ้น ช่วยลดภาวะโลกร้อน


    =  ผลด้านเศรษฐกิจ ทำให้ชุมชนลดรายจ่ายและเพิ่มรายได้ จากการหาอาหารป่า
 จำหน่ายเป็นรายได้เสริม

    =  ผลด้านสุขภาพ ทำให้สุขภาพของคนในชุมชนดีขึ้น จากการที่มีสภาพแวดล้อมใน
 ท้องถิ่นดีขึ้น และประชาชนได้ใช้สมุนไพรที่ปลอดสารพิษในการดูแลรักษาสุขภาพ





 รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   333   334   335   336   337   338   339   340   341   342   343