Page 266 - kpi15860
P. 266

26                                                                         265


 คณะกรรมการตัดสินในส่วนของตัวแทนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประสานงานกับหมู่บ้าน/  ดำเนินโครงการนี้ทำให้เกิดเครือข่ายภาครัฐในพื้นที่ ที่จะร่วมกันต่อยอดการพัฒนาในประเด็นอื่นๆ
 ชุมชนในพื้นที่ของตน และเป็นที่ปรึกษากับหมู่บ้าน/ชุมชนของตน และส่วนราชการประจำอำเภอ   ต่อไป
 ทำหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษาแก่หมู่บ้าน/ชุมชน และให้ข้อมูลเกี่ยวกับการพิจารณาประกอบ
 การตัดสิน   โครงการข้อบัญญัติตำบลเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ
          สิ่งแวดล้อมในจังหวัดแม่ฮ่องสอน
 เครือข่ายระดับหมู่บ้าน/ชุมชน ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้าน/ชุมชน และประชาชน เข้าร่วม
 กิจกรรมประกวดหมู่บ้านก่อการดี โดยบริหารจัดการหมู่บ้านให้เป็นไปตามเกณฑ์การประเมิน      โครงการข้อบัญญัติตำบลเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 ในการดำเนินงานมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหมู่บ้าน/ชุมชนในพื้นที่ห่างไกลกัน ก่อให้เกิด  ในจังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นโครงการที่ อบจ. แม่ฮ่องสอน ร่วมกับภาคีเครือข่าย ได้แก่ องค์การ
 ความสัมพันธ์อันดีต่อกัน   บริหารส่วนตำบล 14 แห่ง คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ วิทยาลัยชุมชนแม่ฮ่องสอน
          สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (ภาคเหนือ) มูลนิธิเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (ภาคเหนือ) สถาบันพัฒนา
 จากการเชิญชวน และกระตุ้นให้หมู่บ้าน/ชุมชนในจังหวัดแม่ฮ่องสอนได้ทบทวนการบริหาร  ท้องถิ่น สมาคมฟื้นฟูและพัฒนาลุ่มน้ำสาละวิน จังหวัดแม่ฮ่องสอน และสำนักรณรงค์และสื่อสาร
 จัดการภายในชุมชนของตนเองว่า มีลักษณะของการบริหารจัดการชุมชนที่ดี มีความพยายามสร้าง  สาธารณะเพื่อสังคม ดำเนินงานมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2553 โดยมีเป้าหมายเพื่อแก้ไข
 ชุมชนให้เข้มแข็ง พึ่งตนเอง และจัดการตนเองได้หรือไม่ ผลปรากฏว่า มีหมู่บ้าน/ชุมชนแจ้งความ  ปัญหาเรื่องที่ดิน
 ประสงค์สมัครเข้ารับการพิจารณา จำนวน 380 หมู่บ้านชุมชน คณะกรรมการพิจารณาและตัดสิน
 รางวัลทำการประเมินเอกสารที่หมู่บ้าน/ชุมชนได้ส่งมา ประกอบกับประเมินจากข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น   กระบวนการดำเนินงานประกอบด้วย 9 ขั้นตอน ได้แก่ 1. การสร้างเวทีการเรียนรู้ระหว่าง
 ผลการพิจารณาตัดสิน พบว่า มีหมู่บ้านที่เกิดกระบวนการเรียนรู้ สร้างความเข้มแข็ง และพึ่งตนเอง  ผู้นำ / องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 2. เวทีสร้างความเข้าใจระดับชุมชน/ตำบล 3. การจัดทำระบบ

 ได้ ตามเกณฑ์ที่กำหนดไว้ จำนวน 380 หมู่บ้าน/ชุมชน ดังนี้   ข้อมูลสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 4. การพัฒนากฎระเบียบของชุมชน 5. กระบวนการจัดทำร่าง
          ข้อบัญญัติ 6. การประชาคมร่างข้อบัญญัติ 7. การประกาศใช้ข้อบัญญัติ 8. การพัฒนาให้เกิด
 = รางวัลระดับดีเลิศ ผ่านเกณฑ์ชี้วัดเกินกว่าร้อยละ 95    จำนวน 64 หมู่บ้าน   ทิศทางการจัดการทรัพยากรที่ยั่งยืน และ 9. การผลักดันให้เกิดการยอมรับจากหน่วยงาน

 = รางวัลระดับดีเด่น ผ่านเกณฑ์ชี้วัดระหว่างร้อยละ 85 –94   จำนวน 106 หมู่บ้าน   ที่เกี่ยวข้องทั้งในระดับจังหวัดและระดับประเทศ

 = รางวัลระดับดี ผ่านเกณฑ์ชี้วัดระหว่างร้อยละ 75–84    จำนวน 210 หมู่บ้าน   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละแห่งได้ดำเนินการตามแผนกิจกรรมที่กำหนดไว้อย่างต่อ
          เนื่อง โดยในแต่ละพื้นที่มีการดำเนินการในแต่ละขั้นตอนไม่เท่ากัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความพร้อมของ
 การดำเนินงานโครงการส่งผลให้หมู่บ้าน/ชุมชนเกิดกระบวนการเรียนรู้ ทบทวน ฟื้นฟู ปรับ  พื้นที่ ซึ่งมีปัจจัยหลายอย่าง โดยเฉพาะกระบวนการสร้างความเข้าใจกับประชาชนซึ่งเป็นผู้มีส่วนได้
 กระบวนการทำงานภายในชุมชนของตนเองให้สอดคล้องกับหลักการบริหารจัดการชุมชนที่ดี   เสียโดยตรง สำหรับปี พ.ศ. 2556 ได้มีการขยายผลและดำเนินการต่อเนื่อง ดังนี้
 หมู่บ้าน/ชุมชนตระหนักถึงความสำคัญของการเก็บรวบรวมข้อมูล เกิดความสามัคคีร่วมแรงร่วมใจ
 ในการเข้าประกวด และเกิดความภาคภูมิใจที่ได้รับการยกย่องเชิดชู ในระดับจังหวัด แม่ฮ่องสอนมี  1.  ขยายพื้นที่ในการจัดการทรัพยากร จากเดิมในปี พ.ศ. 2555 มีพื้นที่จำนวน 14 แห่ง
 แหล่งเรียนรู้ต้นแบบในการบริหารจัดการชุมชนที่ดี เพื่อให้ชุมชนอื่นได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้ต่อไป   ขยายพื้นที่ครอบคลุมเขตพื้นที่รับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 32  แห่ง
 สำหรับ อบจ. แม่ฮ่องสอน ได้ฐานข้อมูลชุมชนต้นแบบธรรมาภิบาล เพื่อใช้ในการส่งเสริมให้  2.  อบจ. แม่ฮ่องสอนร่วมกับภาคีเครือข่ายมุ่งเน้นให้มีการสร้างฐานข้อมูล

 หมู่บ้าน/ชุมชนอื่นมีความเข้มแข็ง พึ่งตนเอง และจัดการตนเองได้ในอนาคต สิ่งสำคัญในการ  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (GIS) เพื่อพัฒนาการใช้ประโยชน์และแก้ไขปัญหาที่ดินและ



 รางวัลพระปกเกล้า’ 57                                         รางวัลพระปกเกล้า’ 57
   261   262   263   264   265   266   267   268   269   270   271