Page 91 - kpiebook67035
P. 91
สถาบันพระปกเกล้า
King Prajadhipok’s Institute
- ทุนวัฒนธรรมที่เป็นรูปธรรม (objectified state) ของเชียงคาน ได้แก่ อาหารพื้นเมือง
ขนมพื้นเมือง ทรัพยากรธรรมชาติ ชุมชนบ้านไม้เก่า ถนนคนเดิน วัด แหล่งท่องเที่ยวที่สำาคัญ
การแสดงพื้นเมือง การละเล่นพื้นบ้าน หัตถศิลป์หรือสิ่งประดิษฐของชุมชน
- ทุนวัฒนธรรมที่เป็นสถาบัน (institutionalization state) ได้แก่ ประเพณีสำาคัญของ
ชุมชนในแต่ละเดือน หรือประเพณี ฮีต 12 คอง 14 เช่น ประเพณีใส่บาตรข้าวเหนียว ประเพณี
้
ข้าวพันก้อน ประเพณีแห่นำา เป็นต้น
ดังจะเห็นได้จากผลการระดมความเห็นดังนี้
กลุ่มบ้านเหนือ/สิงห์เหนือ กลุ่มบ้านใต้/เสือใต้
- อาหารพื้นถิ่น: เอ๊าะหลาม ข้าวปุ้นฮ้อน - การแต่งกายของคนเชียงคาน
้
เมี่ยงคำา ข้าวปุ้นนำาแจ่ว คั่วปลาร้าสมุนไพร - การตัดกระดาษสร้อยสา
แจ่วหมากกอก นึ่งผัก ข้าวหัวหงอก - การละเล่นพื้นบ้าน: เล่นหมากโป่งเหล่ง
ข้าวหลาม ส้มตำา ป่นปลา แจ่วบอง ข้าวจี่ - การแสดงพื้นเมือง
้
ส้มปลาน้อย - อาหาร: ข้าวปุ้นฮ้อน ข้าวปุ้นนำาแจ่ว
- ขนมหวานพื้นเมือง ลาบปลา ตำาส้มเชียงคาน เอาะเนื้อวัว
- การทำาปราสาทผึ้งโบราณ ซ่าปลา ตำาซั่ว ห่อหมกถั่วเน่า
้
- การแต่งกาย - ทรัพยากรธรรมชาติ: แม่นำาโขง
- การละเล่นพื้นบ้าน: การเล่นสะบ้า - สถานที่สำาคัญ: วัด ศูนยการเรียนรู้
- การแสดงพื้นบ้าน: รำาเบิ่งโขง พิพิธภัณฑ
ตีกลองร้องเพลง เซิ้งเฮือสม - แหล่งท่องเที่ยว: บ้านไม้ เรือนำาเที่ยว
้
- สิ่งประดิษฐของชุมชน: เรือไฟบก ริมแม่นำาโยง
ผ้าห่มนวมทำาจากฝ้าย กระดาษสร้อยสา - คนในชุมชน
ครกตำาข้าวปุ้น - ประเพณีฮีต 12 คอง 14
- ศิลปวัตถุ - การใส่บาตรข้าวเหนียว
- โบราณวัตถุ: เรือโบราณ - ผาสาดลอยเคราะห
- แพปลา - ประเพณีเข้าพรรษา
้
- ทรัพยากรธรรมชาติ: แม่นำาโขง หญ้าหวีด - ภาษาถิ่น
(loeiensis) ดอกฝ้าย - นิทานพื้นบ้าน
- สถานที่สำาคัญ: วัดศรีคุณเมือง วัดโพนชัย - เพลงพื้นบ้าน
้
- อุปนิสัยคนเชียงคาน: ความมีนำาใจ - ความเชื่อ
เอื้ออาทร - อุปนิสัยคนเชียงคาน: รักบ้านเกิด ยิ้มสวย
้
นำาใจงาม
89