Page 200 - kpiebook65021
P. 200
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
7.1 กลุ่มผู้น ำชุมชน (ปรำชญ์ชำวบ้ำน อสม. ผู้น ำศำสนำ)
7.1.1 สภำพพื้นที่ของจังหวัดจันทบุรีในอดีต
จากค าถามที่ว่า “อดีตที่ผ่านมา พื้นที่ของท่านเป็นอย่างไร” พบว่า จากข้อมูลการสัมภาษณ์ กลุ่มผู้น าชุมชน
(ปราชญ์ชาวบ้าน อสม. ผู้น าศาสนา) ได้กล่าวถึงอดีตในพื้นที่โดยรวมของจังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่มนี้ได้มี
การแสดงความคิดเห็นใน 19 ประเด็น โดย 3 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน
2) การประกอบอาชีพ
3) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ตำรำง 7.2 ข้อมูลร้อยละอดีตที่ผ่านมาในพื้นที่ กลุ่มผู้น าชุมชน (ปราชญ์ชาวบ้าน อสม. ผู้น าศาสนา)
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 101 25.25
2 การประกอบอาชีพ 80 20.00
3 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 67 16.75
4 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 32 8.00
5 ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ ภัยจากสัตว์ป่า ภัยอื่น ๆ 29 7.25
6 คุณภาพชีวิต 18 4.50
7 เศรษฐกิจ 16 4.00
8 การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี 14 3.50
9 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 8 2.00
10 สุขภาพ 8 2.00
11 การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่ 6 1.50
12 วัฒนธรรมและภูมิปัญญา 5 1.25
13 การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ 4 1.00
14 ความสะอาด ภูมิทัศน์ 3 0.75
15 ยาเสพติด/อบายมุข 3 0.75
16 ผู้น า 2 0.50
17 ประชากร 2 0.50
18 พื้นที่สาธารณะ 1 0.25
19 การศึกษา 1 0.25
7.1.2 ควำมภำคภูมิใจในจังหวัดจันทบุรี
จากค าถามที่ว่า “ปัจจุบันท่านภูมิใจอะไรในพื้นที่ของท่านมากที่สุด” พบว่า จากข้อมูลการสัมภาษณ์
กลุ่มผู้น าชุมชน (ปราชญ์ชาวบ้าน อสม. ผู้น าศาสนา) ได้กล่าวถึงสิ่งที่ภูมิใจในพื้นที่ของจังหวัดจันทบุรี โดยกลุ่มนี้
ได้มีการแสดงความคิดเห็นใน 22 ประเด็น โดย 3 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
175