Page 198 - kpiebook65021
P. 198
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
บทที่ 7
ผลกำรศึกษำระดับตัวแทนกลุ่มผู้ให้ข้อมูล
ผลการศึกษาจากการสัมภาษณ์ตัวแทนผู้ให้ข้อมูลในจังหวัดจันทบุรีที่น าเสนอในบทนี้ เป็นการน าเสนอ
ภาพในระดับตัวแทนกลุ่มผู้ให้ข้อมูลกลุ่มต่าง ๆ จากผู้ตอบแบบสัมภาษณ์ จ านวนทั้งสิ้น 760 ชุดเช่นกัน โดย
แบ่งกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ออกเป็น 8 กลุ่ม ดังตาราง 7.1 ประกอบด้วย
1) กลุ่มผู้น าชุมชน (ปราชญ์ชาวบ้าน อสม. ผู้น าศาสนา)
2) กลุ่มผู้น าท้องถิ่น (สมาชิกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้บริหารท้องถิ่น ผู้ปกครองท้องที่)
3) กลุ่มสื่อมวลชนท้องถิ่น และกลุ่มภาคประชาสังคมในท้องถิ่น (สมาชิกสภาองค์กรชุมชน สมาชิก
สภาเกษตร กลุ่ม NGOs)
4) กลุ่มเกษตรกรและกลุ่มประมงชายฝั่ง
5) กลุ่มข้าราชการในพื้นที่
6) กลุ่มธุรกิจ พาณิชย์และการท่องเที่ยว
7) กลุ่มคนรุ่นใหม่ (ผู้มีอายุระหว่าง 18 - 24 ปี ก าลังศึกษาอยู่ ยังไม่ได้ประกอบอาชีพหลักตามข้อที่ 1 - 7)
8) กลุ่มอื่น ๆ (ประชาชนทั่วไป)
ทั้งนี้ จากการเก็บรวมรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ให้ข้อมูลกลุ่มต่าง ๆ จ านวน 8 กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มได้ตอบ
ค าถามในประเด็นต่าง ๆ จ านวน 7 ประเด็น ได้แก่
1) สภาพพื้นที่ของจังหวัดจันทบุรีในอดีต
2) ความภาคภูมิใจในจังหวัดจันทบุรี
3) อนาคตจังหวัดจันทบุรีที่ต้องการจะเห็นในอีกห้าปีข้างหน้า
4) อนาคตจังหวัดจันทบุรีที่ต้องการจะเห็นในอีกสิบปีข้างหน้า
5) อนาคตจังหวัดจันทบุรีที่ต้องการจะเห็นในอีกยี่สิบปีข้างหน้า
6) สิ่งที่ห่วงกังวลมากที่สุดต่อภาพอนาคตที่อยากจะเห็น
7) สิ่งที่สามารถท าได้เพื่อส่วนรวมรวมทั้งหมด
173