Page 123 - kpiebook65021
P. 123
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ในอนาคตคู่แข่งมีมาตรฐานที่ดีกว่า ไม่มีหน่วยงานช่วยเหลือเกษตรกร ไม่มีคนรุ่นใหม่มาท าการเกษตร นายทุน
กว้านซื้อที่ดินและการขายที่ท ากินในชุมชน
2) เศรษฐกิจ การพึ่งพาต่างประเทศ การเข้าถึงเงินทุน ชาวบ้านมีหนี้สิน เศรษฐกิจของประเทศย่ าแย่
และความไม่แน่นอนของเศรษฐกิจ ค่าครองชีพที่เพิ่มขึ้น การขาดแหล่งเงินทุนส ารองและเงินหมุนเวียน
คนไม่ตื่นตัวเรื่องรายได้เสริม
3) ผู้น า การบริหารงานของรัฐบาล ผู้น าไม่มีประสิทธิภาพ ผู้น าไม่มีวิสัยทัศน์ ปัญหาการเมือง
การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้นบ่อย ๆ ความเห็นแก่ตัวของนักการเมือง
4) การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ กังวลเรื่องการเอาใจใส่จากทางภาครัฐ ข้อบังคับ กฎหมายต่าง ๆ
ที่ไม่สามารถปฏิบัติได้จริง หน่วยงานรัฐมีข้อก าหนดมากเกินไป กลไกภาครัฐไม่เอื้อต่อการพัฒนา ความโปร่งใส
ของภาครัฐ การทุจริตคอร์รัปชัน
5) ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ ประชาชนต้องท างานท าให้ไม่มีเวลาพูดคุยส่งผลต่อความสามัคคี
ความแตกแยกในชุมชน ความแตกแยกทางความคิด ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม มีคนเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัว
6) สุขภาพ กังวลเรื่องศักยภาพทางการแพทย์ลดลง โรคระบาดโควิด 19 ปัญหาสุขภาพของคนใน
หมู่บ้าน คนไม่สนใจสุขภาพ
7) ยาเสพติด/อบายมุข มีความกังวลในปัญหายาเสพติด
8) งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กังวลในแง่งบประมาณไม่เพียงพอ
ตำรำง 6.20 ข้อมูลร้อยละความห่วงกังวลของผู้ให้ข้อมูล อ าเภอท่าใหม่
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 การประกอบอาชีพ 8 13.11
2 เศรษฐกิจ 8 13.11
3 ผู้น า 8 13.11
4 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 7 11.48
5 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 6 9.84
6 สุขภาพ 4 6.56
7 ยาเสพติด/อบายมุข 4 6.56
8 งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3 4.92
9 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2 3.28
10 การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ 2 3.28
11 เด็ก เยาวชน และคนรุ่นใหม่ 2 3.28
98