Page 122 - kpiebook65021
P. 122
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
6) เศรษฐกิจ ชาวบ้านไม่มีหนี้สิน เศรษฐกิจมั่นคง อยากให้ใช้เศรษฐกิจพอเพียง มีร้านค้า มีความ
เท่าเทียมกันด้านรายได้ มีรายได้สูง มีรายได้ตลอดทั้งปี
7) การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่ อยากเห็นประชาชนมีความเท่าเทียมกัน การร่วมมือกันของคนในชุมชน
ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา กล้าออกความคิดเห็น ยอมรับเสียงส่วนมากได้ เป็นต้นแบบสินค้า OTOP
ตำรำง 6.19 ข้อมูลร้อยละในยี่สิบปีข้างหน้าที่อยากเห็นในพื้นที่ อ าเภอท่าใหม่
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 คุณภาพชีวิต 10 16.39
2 การประกอบอาชีพ 8 13.11
3 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 8 13.11
4 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 8 13.11
5 ความสะอาด ภูมิทัศน์ 5 8.20
6 เศรษฐกิจ 4 6.56
7 การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่ 4 6.56
8 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 3 4.92
9 การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี 3 4.92
10 ผู้น า 2 3.28
11 การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ 2 3.28
12 การศึกษา 2 3.28
13 กลุ่มองค์กรในพื้นที่ 1 1.64
14 ยาเสพติด/อบายมุข 1 1.64
6.3.6 สิ่งที่ห่วงกังวลมำกที่สุดต่อภำพอนำคตที่อยำกจะเห็น
จากค าถามที่ว่า “อะไรที่ท่านห่วงกังวลมากที่สุดว่า จะท าให้สิ่งที่ท่านใฝ่ฝันเป็นไปไม่ได้” พบว่า
ผู้ให้ข้อมูลได้มีการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าถามดังกล่าว 18 ประเด็นด้วยกัน ทั้งนี้ 8 ประเด็นแรก
ที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) การประกอบอาชีพ กังวลราคาผลไม้ตกต่ า การถูกเอาเปรียบ (กดราคา) คุณภาพสินค้าทาง
การเกษตรไม่เป็นที่ยอมรับ การใช้สารเคมี การปลูกพืชตามกระแส (ทุเรียน) จ านวนมากท าให้ราคาตก
97