Page 116 - kpiebook65021
P. 116
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
ตำรำง 6.15 ข้อมูลร้อยละอดีตที่ผ่านมาในพื้นที่ อ าเภอท่าใหม่
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 การประกอบอาชีพ 23 28.75
2 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 19 23.75
3 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 9 11.25
4 เศรษฐกิจ 5 6.25
5 การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ 4 5.00
6 การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี 4 5.00
7 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 3 3.75
8 ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ ภัยจากสัตว์ป่า ภัยอื่น ๆ 3 3.75
9 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 2 2.50
10 ความสะอาด ภูมิทัศน์ 2 2.50
11 การศึกษา 2 2.50
12 กลุ่มองค์กรในพื้นที่ 1 1.25
13 สุขภาพ 1 1.25
14 วัฒนธรรมและภูมิปัญญา 1 1.25
15 พื้นที่สาธารณะ 1 1.25
6.3.2 ควำมภำคภูมิใจในจังหวัดจันทบุรี
จากค าถามที่ว่า “ปัจจุบันท่านภูมิใจอะไรในพื้นที่ของท่านมากที่สุด” พบว่า ผู้ให้ข้อมูลภูมิใจในพื้นที่
ของตน โดยได้มีการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าถามดังกล่าว 13 ประเด็นด้วยกัน ทั้งนี้ 7 ประเด็นแรก
ที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) การประกอบอาชีพ มีการท าการเกษตรผสมผสาน ราคาผลไม้ดีขึ้น เป็นศูนย์กลางการค้าสินค้า
เกษตร น าเทคโนโลยีมาใช้ในการเกษตร การปลูกผลไม้ที่ตลาดต้องการ พื้นที่เกษตรมีความอุดมสมบูรณ์ มีการ
ส่งออกต่างประเทศ มีช่องทางการขายที่หลากหลาย เช่น ขายออนไลน์ เป็นแหล่งผลิตสินค้าทางการเกษตรที่มี
คุณภาพ มีตลาดขายผลผลิตสินค้าเกษตรที่มีชื่อเสียง ท าเกษตรเป็นของตัวเอง เป็นศูนย์รวมของการซื้อขาย
ทุเรียนเพื่อส่งออก มีการจัดการทางประมงที่ดี มีอาณาเขตทางการประมงที่ชัดเจน ชาวบ้านหันมาท านากุ้ง
ที่ท างานใกล้ถนนและสาธารณูปโภค ชาวบ้านมีอาชีพ ชาวบ้านมีอาชีพเสริม และมีการท าเหมืองพลอย
2) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีพื้นที่สีเขียว สภาพแวดล้อมดี ทรัพยากรธรรมชาติมีความ
อุดมสมบูรณ์ ภูมิใจในทะเล ความอุดมสมบูรณ์ของอาหาร อากาศดี ไม่มีมลพิษ มีอาหารอุปโภคบริโภค
มีแร่ธาตุและอัญมณีในดิน มีพลอย มีการพัฒนาแหล่งน้ า ขุดลอกคูคลอง มีอ่างเก็บน้ า (ต าบลทุ่งเบญจา) มีน้ า
91