Page 115 - kpiebook65021
P. 115
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
6.3 อ ำเภอท่ำใหม่
อ าเภอท่าใหม่ ประกอบด้วย 14 ต าบล ได้แก่ 1) ต าบลคลองขุด 2) ต าบลตะกาดเง้า 3) ต าบล
ทุ่งเบญจา 4) ต าบลท่าใหม่ 5) ต าบลบ่อพุ 6) ต าบลพลอยแหวน 7) ต าบลยายร้า 8) ต าบลร าพัน 9) ต าบล
สองพี่น้อง 10) ต าบลสีพยา 11) ต าบลเขาบายศรี 12) ต าบลเขาวัว 13) ต าบลเข้าแก้ว และ 14) ต าบลโขมง
โดยเก็บข้อมูลต าบลละ 10 คน รวมจ านวนทั้งสิ้น 140 คน ทั้งนี้ ใคร่ขอน าเสนอผลการศึกษาแต่ละประเด็น
จ านวน 7 ประเด็น ดังนี้
6.3.1 สภำพพื้นที่ของจังหวัดจันทบุรีในอดีต
จากค าถามที่ว่า “อดีตที่ผ่านมา พื้นที่ของท่านเป็นอย่างไร” พบว่า ผู้ให้ข้อมูลกล่าวถึงอดีตในพื้นที่ของตน
โดยได้มีการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าถามดังกล่าว 15 ประเด็นด้วยกัน ทั้งนี้ 7 ประเด็นแรกที่
ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่
1) การประกอบอาชีพ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ท านา ท าสวนยาง ท าไร่กาแฟ
มันส าปะหลัง สวนพริกไทย พื้นที่ไม่เหมาะต่อการเกษตร ราคาปุ๋ยแพง ราคาผลิตตกต่ า สินค้าเกษตรราคาถูก
สินค้าเกษตรไม่มีตลาดรองรับ ราคาสินค้าเกษตรไม่ดีเท่าที่ควร ในส่วนอาชีพประมง เคยท านากุ้ง หลังเลิกท าให้
นากุ้งกลายเป็นพื้นที่ว่าง ผลผลิตการประมงดี และมีการท าเหมืองพลอย
2) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน ในอดีตคมนาคมไม่สะดวก ถนนลูกรัง ไม่มีขนส่ง
สาธารณะ ถนนไม่มีแสงสว่าง การเดินทางสะดวก น้ าไม่พอใช้ ประปาไม่สะดวก ไม่มีไฟฟ้า ไฟดับบ่อย ระบบ
บริหารจัดการสาธารณูปโภคไม่ดีเท่าที่ควร
3) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในอดีตมีป่าชายเลนเป็นแหล่งสร้างรายได้ ความอุดมสมบูรณ์
ของทรัพยากรธรรมชาติ มีพื้นที่สีเขียว ทุกครัวเรือนมีบ่อน้ า สภาพดินเปรี้ยว และเป็นพื้นที่ลุ่มน้ า (ต าบลสองพี่น้อง)
เป็นป่ารกปนภูเขา เป็นพื้นที่น้ าเค็มเข้าถึงบางส่วน ขาดแคลนน้ าจืด
4) เศรษฐกิจ ในอดีตเศรษฐกิจในชุมชนไม่ดี ความเลื่อมล้ าทางเศรษฐกิจ อยู่กันแบบยึดหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง ชาวบ้านส่วนใหญ่ยากจน
5) การท่องเที่ยวและสถานที่ส าคัญ มีสถานที่ท่องเที่ยวหลายแหล่ง มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงความเชื่อ
6) การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี มีความเจริญน้อย ไม่ห่างไกลจากตัวเมืองเท่าไร
ไม่ค่อยมีการพัฒนา ความล าบากในการติดต่อสื่อสาร
7) การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ หน่วยงานภาครัฐไม่เอาใจใส่ เข้าถึงหน่วยงานรัฐยาก
90