Page 106 - kpiebook65021
P. 106

โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน:  กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี





                  ล ำดับ                         หมวดหมู่                            จ ำนวน       ร้อยละ

                    8    การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี                            6          2.79

                    9    คุณภาพชีวิต                                                    6          2.79

                   10  การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่                                          6          2.79

                   11  เศรษฐกิจ                                                         5          2.33

                   12  กลุ่มองค์กรในพื้นที่                                             5          2.33


                   13  การท างานของหน่วยงานในพื้นที่                                    4          1.86

                   14  ผู้น า                                                           3          1.40

                   15  ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ ภัยจากสัตว์ป่า ภัยอื่น ๆ                   2          0.93

                   16  สุขภาพ                                                           1          0.47

                   17  พื้นที่สาธารณะ                                                   1          0.47

                   18  เด็ก เยาวชน และคนรุ่นใหม่                                        1          0.47

                   19  ยาเสพติด/อบายมุข                                                 1          0.47



                        6.2.3 อนำคตจังหวัดจันทบุรีที่ต้องกำรจะเห็นในอีกห้ำปีข้ำงหน้ำ

                        จากค าถามที่ว่า “อีก 5 ปีข้างหน้า ท่านอยากเห็นพื้นที่ของท่านเป็นอย่างไร” พบว่า ผู้ให้ข้อมูลอยาก
                 เห็นในอีก 5 ปีข้างหน้าในพื้นที่ของตน โดยได้มีการให้ข้อมูล แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับค าถามดังกล่าว 22
                 ประเด็นด้วยกัน ทั้งนี้ 7 ประเด็นแรกที่ผู้ตอบให้ความส าคัญมากที่สุดตามล าดับ ได้แก่

                        1) ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน อยากให้มีขนส่งสาธารณะหลากหลายรูปแบบ ถนนที่

                 สะดวกต่อการขนส่งผลผลิต มีถนนที่ดี ถึงทุกบ้าน มีไฟส่องสว่างถนน มีราวกันโค้ง มีสัญลักษณ์จราจร มีไฟฟ้า
                 ที่เสถียร ไม่ดับบ่อย มีไฟฟ้าในถนนซอย มีไฟฟ้าส่องสว่าง มีน้ าประปาสะอาดใช้ในครัวเรือน ทุกครัวเรือน
                 เพียงพอ

                        2) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แหล่งน้ าการเกษตรมีใช้อย่างยั่งยืน เพียงพอ มีล าคลองที่มี
                 น้ าสะอาดใช้ท าการเกษตร ล าคลองมีน้ าใช้ตลอด มีฝายกั้นน้ า สระน้ า หลาย ๆ จุดในชุมชน แก้ปัญหา

                 ขาดแคลนแหล่งน้ าท าการเกษตร  มีน้ าเพียงพอต่อการเกษตร  มีการปลูกป่าชายเลน ความสมบูรณ์ของป่าชายเลน
                 ทรัพยากรสัตว์น้ าอุดมสมบูรณ์ และมีการใช้ประโยชน์จากทุนทรัพยากร เช่น ทะเล พายเรือ การแปรรูปอาหาร
                 ทะเล สวน ตลอดจนมีเจ้าหน้าที่เข้ามาดูแลป่าไม้ในเขตป่าสงวนในพื้นที่ชุมชน

                        3) การประกอบอาชีพ พัฒนาวิธีการท าเกษตรให้เหมาะสม มีนวัตกรรมการเกษตรใหม่ ๆ ผลผลิต
                 ทางการเกษตรราคาดี มีคุณภาพ มีการรวมกลุ่มเกษตรกรเพื่อเพิ่มอ านาจในการต่อรองราคา เกษตรรุ่นใหม่คืนถิ่น

                 ส่งเสริมวิถีการท าประมงชาวบ้าน คนในชุมชนได้รับการส่งเสริมอาชีพ ทุกคนมีงานท า มีการรวมกลุ่มอาชีพ
                 มีแหล่งงานในชุมชน และมีเอกสารสิทธิ์ที่ดินท ากิน




                                                             81
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111