Page 101 - kpiebook65021
P. 101
โครงการการเสริมสร้างความเข้มแข็งทางด้านสิทธิและการมีส่วนร่วมแก่ประชาชน: กรณีศึกษาการพัฒนานโยบายจากภาคประชาชน จังหวัดจันทบุรี
5) ผู้น า มีความกังวลว่า คณะท างานไม่ท างานร่วมกัน ผู้น าไม่มีประสิทธิภาพ ความแตกแยกที่เกิดจาก
การเลือกตั้งความขัดแย้งทางการเมืองระดับชาติ/ท้องถิ่นส่งผลให้เกดความแตกแยก และการเมือง
ระดับประเทศที่ส่งผลต่อการพัฒนา
6) การประกอบอาชีพ มีความกังวลว่า คนรุ่นใหม่ไม่ท าการเกษตร อาชีพบางอาชีพอาจหายไป (เช่น
การท านากก นาข้าว มะม่วง) ราคาผลไม้ตกต่ า ค่าแรงราคาถูก การขายที่ดินให้นายทุน และนักการเมือง
ท้องถิ่นร่วมมือกับนายทุนกว้านซื้อที่ดินในพื้นที่
7) งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีความกังวลว่า งบประมาณจากภาครัฐไม่เพียงพอ
ขาดงบประมาณ
ตำรำง 6.6 ข้อมูลร้อยละความห่วงกังวลของผู้ให้ข้อมูล อ าเภอเมืองจันทบุรี
ล ำดับ หมวดหมู่ จ ำนวน ร้อยละ
1 สุขภาพ 20 12.99
2 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 18 11.69
3 ความสัมพันธ์ของคนในพื้นที่ 17 11.04
4 การท างานของหน่วยงานในพื้นที่ 16 10.39
5 ผู้น า 14 9.09
6 การประกอบอาชีพ 12 7.79
7 งบประมาณจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 9 5.84
8 ยาเสพติด/อบายมุข 8 5.19
9 ระบบสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน 6 3.90
10 เศรษฐกิจ 6 3.90
11 คุณภาพชีวิต 6 3.90
12 การพัฒนาด้านความทันสมัยและเทคโนโลยี 4 2.60
13 ภัยธรรมชาติ ภัยพิบัติ ภัยจากสัตว์ป่า ภัยอื่น ๆ 4 2.60
14 ผู้สูงอายุ 3 1.95
15 คุณธรรม/ศีลธรรม 3 1.95
16 ความสะอาด ภูมิทัศน์ 2 1.30
17 การพัฒนาโดยชุมชนพื้นที่ 2 1.30
76