Page 164 - kpiebook64008
P. 164
ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ การแปลผล
ประสบการณ์การท างาน เช่น อดีตสภาชิกสภาองค์การบริหารส่วน 3.99 มาก
จังหวัด(ส.อบจ.)
สังกัดพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเดียวกบนายกองค์การบริหารส่วน 3.62 มาก
จังหวัด(นายก อบจ.)
2. พรรคการเมือง
ผู้สมัครต้องสังกัดพรรคการเมือง 3.39 ปานกลาง
ผู้สมัครเป็นกลุ่มการเมืองหรือผู้สมัครอิสระ 3.34 ปานกลาง
นโยบายของพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองในการหาเสียง 3.88 มาก
การมี สส. ของพรรคการเมืองในพิ้นที่ 3.47 ปานกลาง
3. การรณรงค์หาเสียงเลือกตั้ง
รถหาเสียง (รถแห่) 3.51 มาก
การปราศรัยหาเสียง 3.64 มาก
ป้ายหาเสียง 3.48 ปานกลาง
แผ่นพับแนะน าตัว 3.45 ปานกลาง
หัวคะแนน 3.13 ปานกลาง
ผู้น าชุมชน 3.40 ปานกลาง
ค่าตอบแทนหรือเงินซื้อเสียง 2.55 ปานกลาง
จากตารางที่ 5.17 กลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ที่ตอบแบบส ารวจปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจ
ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง ด้านคุณลักษณะและคุณสมบัติผู้สมัครเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด (นายก อบจ.)
ส่วนใหญ่ค านึงถึงระดับการศึกษา อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 4.02 ภูมิล าเนาหรือถิ่นในพื้นที่ อยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ย 3.94 และระดับการศึกษาในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.81 ตามล าดับ
ด้านคุณลักษณะและคุณสมบัติผู้สมัครเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.อบจ.) ส่วนใหญ่
ค านึงถึงประสบการณ์การท างาน เช่น อดีตสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด (ส.อบจ.) อยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ย 3.99 ภูมิล าเนาหรือถิ่นในพื้นที่ อยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.98 และ ระดับการศึกษาในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ย 3.88 ตามล าดับ
ด้านพรรคการเมืองส่วนใหญ่ค านึงถึงนโยบายของพรรคการเมืองหรือกลุ่มการเมืองในการหาเสียง
อยู่ในระดับมากมีค่าเฉลี่ย 3.88 ส.ส.ในพื้นที่ อยู่ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 3.47 และ ผู้สมัครต้องสังกัดพรรค
การเมือง ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย 3.39 ตามล าดับ
ด้านรูปแบบและวิธีการรณรงค์หาเสียงเลือกตั้งใหญ่ค านึงถึงการปราศรัยหาเสียงอยู่ในระดับมาก
มีค่าเฉลี่ย 3.64 รถหาเสียง (รถแห่) ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ย 3.51 และ ป้ายหาเสียง ในระดับปานกลาง มีค่าเฉลี่ย
3.48 ตามล าดับ
โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ 143