Page 155 - kpiebook64008
P. 155

แบบสอบถามจ านวนมากไม่ได้อยู่ในขอบเขตอ านาจหน้าที่ความรับผิดชอบของ อบจ. กลุ่มตัวอย่างมองว่า อบจ.
               คือ หน่วยงานส่วนท้องถิ่นขนาดใหญ่ระดับจังหวัด สามารถด าเนินการทั้งในเรื่องงบประมาณและบุคลากรได้

               เทียบเท่ากับส่วนราชการระดับภูมิภาค แต่บทบาทของ อบจ. แท้ที่จริง คือ การประสานผลประโยชน์การพัฒนา
               ระดับจังหวัดและหน่วยการปกครองส่วนท้องถิ่น แม้จะมาจากการเลือกตั้งระดับจังหวัดและอ าเภอ และทางพฤติ
               นัย อบจ. ไม่ได้มีพื้นที่เป็นของตนเอง สะท้อนช่องว่างระหว่างความรู้ความเข้าใจประชาชนกับความขัดแย้งและการ
               ขาดการเชื่อมั่นใน อบจ. จากฐานข้อมูลที่อาจจะไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ผู้ตอบแบบสอบถามยังเสนอแนะความคิดเห็น

               ทางการเมืองจ านวนมาก โดยเฉพาะสถานการณ์ทางการเมืองในช่วงการเลือกตั้งที่เป็นช่วงเดียวกันกับการเรียกร้อง
               แสดงความเคลื่อนไหวของกลุ่มเยาวชนคนรุ่นใหม่ที่ปรากฏให้เห็นอย่างกว้างขวางในจังหวัดเชียงใหม่ ดังนั้น การ
               ระบุถึงความต้องการหรือความเห็นที่มีต่อ อบจ. จึงเป็นสิ่งที่เชื่อมโยงกับการเมืองระดับชาติ เช่น การให้ อบจ.
               แสดงจุดยืนในฐานะของจังหวัดเชียงใหม่เกี่ยวกับเรื่องการเมือง และการให้ อบจ. เน้นนโยบายการสร้าง

               ประชาธิปไตยอย่างเป็นรูปธรรมเพื่อขัดขวางการเติบโตของความคิดเรื่องเผด็จการ

                           5.2 ข้อมูลแบบส ารวจแบบส ารวจปัจจัยในการลงคะแนนเสียงเลือกตั้งนายกองค์การบริหาร
               ส่วนจังหวัดและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่ พ.ศ. 2563 ของกลุ่มประชาชนผู้มีสิทธิ
               เลือกตั้งในจังหวัดเชียงใหม่ จ านวน 236 คน

                           โดยการน าเสนอจะน าเสนอเป็นตารางค่าร้อยละ ประกอบกับแผนภูมิรูปภาพ ผู้วิจัยน าข้อมูลที่ได้มา
               วิเคราะห์และเสนอผลการวิเคราะห์ โดยใช้ตารางประกอบค าบรรยาย จ าแนกเป็น 4 ตอน ตามล าดับ ต่อไปนี้


                              ตอนที่ 1  การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบส ารวจ
                              ตอนที่ 2   การวิเคราะห์ข้อมูลด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกตั้ง
                              ตอนที่ 3  การวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง
                              ตอนที่ 4  การวิเคราะห์ข้อมูลปัญหาที่ต้องการให้องค์การบริหารส่วนจังหวัดแก้ไขมากที่สุด


               โดยมีสัญลักษณ์ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้    แทน ค่าคะแนนเฉลี่ย (Mean) และ n แทน จ านวนกลุ่มตัวอย่าง

               ตอนที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบส ารวจ

                           การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม จ านวน 236 คน ซึ่งเป็นกลุ่มประชากรที่อาศัยอยู่

               ในจังหวัดเชียงใหม่ ปรากฏผลดังตารางที่ 5.11 – 5.14

               ตารางที่ 5.11    จ านวนและร้อยละพื้นฐานของผู้ตอบแบบสอบถาม จ าแนกตามเพศ (n=236)

                             เพศ                          จ านวน                          ร้อยละ

                             ชาย                            99                            41.95
                             หญิง                           132                           55.93
                             อื่นๆ                           5                             2.12

                             รวม                            236                            100








                 โครงการศึกษาการเลือกตั้งระดับท้องถิ่น ปี 2563: การเลือกตั้งสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดและนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่   134
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160