Page 97 - kpiebook63032
P. 97
96 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดสระแก้ว
4.4 ประชำชน
ในส่วนของการเก็บรวบรวมข้อมูลจากประชาชนซึ่งเป็นประชากรและกลุ่มตัวอย่างของ การวิจัย
ในครั้งนี้ ซึ่งผลการเก็บรวบรวมข้อมูลสามารถแสดงได้ ดังตารางที่ 1
ตำรำงที่ 1 แสดงจ�ำนวนค่ำควำมถี่ และร้อยละควำมคิดเห็นของประชำชนในจังวัดสระแก้ว
ประเด็นค�ำถำม ใช่ ไม่แน่ใจ ไม่ใช่ รวม
ผู้สมัครใช้จ่ายเงินเป็นไปตามกฎหมายที่กำาหนด 100 158 142 400
หรือไม่ (25.00%) (39.50%) (35.50%) (100.00%)
การเลือกตั้งครั้งนี้จะมีการซื้อเสียงหรือไม่ 192 192 16 400
(48.00%) (48.00%) (4.00%) (100.00%)
การเลือกตั้งครั้งนี้จะสามารถเปลี่ยนแปลงจังหวัด 136 68 196 400
สระแก้วได้หรือไม่ (34.00%) (17.00%) (49.00%) (100.00%)
ประเด็นค�ำถำม เลือกคน เลือก ทั้งคนและ รวม
พรรค พรรค
ปัจจัยด้านพรรคการเมืองหรือนักการเมืองที่ 268 92 40 400
ทำาให้ตัดสินใจเลือกตั้งในครั้งนี้ (67.00%) (23.00%) (10.00%) (100.00%)
จากตารางที่ 1 สามารถอธิบายรายละเอียดความคิดเห็นของประชาชนแยกตามประเด็นคำาถามได้
ดังนี้
1. ผู้สมัครใช้จ่ายเงินเป็นไปตามกฎหมายที่กำาหนด ผลการศึกษาพบว่า ประชาชนส่วนใหญ่มี
ความคิดเห็นว่าไม่แน่ใจ คิดเป็นร้อยละ 39.50 รองลงมาคือ ไม่เป็นไปตามกฎหมาย คิดเป็นร้อยละ 35.50
และอันดับสุดท้ายคือ เป็นไปตามกฎหมาย คิดเป็นร้อยละ 25.00 ตามลำาดับ
2. การเลือกตั้งครั้งนี้จะมีการซื้อเสียงหรือไม่ ผลการศึกษาพบว่า ประชานส่วนใหญ่มีความคิด
เห็นว่าจะมีการซื้อเสียงและไม่แน่ใจว่าจะมีการซื้อเสียงหรือไม่ อยู่ในระดับเท่ากัน คิดเป็นร้อยละ 48.00
และไม่มีการซื้อเสียง คิดเป็นร้อยละ 4.00 ตามลำาดับ
3. การเลือกตั้งครั้งนี้จะสามารถเปลี่ยนแปลงจังหวัดสระแก้วได้หรือไม่ ผลการศึกษาพบว่า
ประชาชนส่วนใหญ่มีความคิดเห็นว่า ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงได้ คิดเป็นร้อยละ 49.00 รองลงมาคือ
สามารถเปลี่ยนแปลงได้ คิดเป็นร้อยละ 34.00 และอันดับสุดท้ายคือ ไม่แน่ว่าจะสามารถเปลี่ยนแปลง
ได้หรือไม่ คิดเป็นร้อยละ 17.00 ตามลำาดับ