Page 149 - kpiebook63031
P. 149
การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562
148 จังหวัดอุบลราชธานี
สื่อ Social Media มีส่วนเหมือนกัน แต่กำรเลือกตั้งเมื่อวันที่ 24 มีนำคม 2562 เป็นยุคที่รวม
ทุกรูปแบบกำรหำเสียงเอำไว้ ไม่ว่ำจะเป็น กำรเคำะประตูบ้ำน กำรเดินไหว้ กำรใช้สื่อ Social กำรใช้รถแห่
ป้ำย แผ่นพับ ทุกอย่ำงรวมในสมัยนี้ คำดว่ำอำจจะอีก 10 ปี 15 ปี กำรหำเสียงจะเปลี่ยนไป อำจจะต้อง
ใช้แค่สื่ออย่ำงเดียว เพรำะว่ำตอนนี้ คนที่อำยุ 40 ปีลงมำ เขำมีโทรศัพท์แบบ Smart Phone กันหมดแล้ว
เขำสำมำรถดูได้ แต่ว่ำอำยุ 60 ปีขึ้นไปไม่สนใจกับเรื่องนี้ ทีวีก็ไม่ค่อยได้เปิดก็มี
เพจเคยโดนแฮก 1 ครั้ง เขำแฮกมำที่เฟสน้องชำยก่อน พอเฟสน้องชำยโดน แล้วเขำเป็น Admin อ่ะ
เขำก็เลยเข้ำมำแฮก ก็เลยเหมือนยิ่งโดนแกล้ง เรำก็ยิ่งได้รับควำมสงสำรและเห็นใจ คิดว่ำตอนที่โดนแฮก
มันเกิดจำกผลทำงกำรเมือง 100% เลย คือเพจท�ำมำตั้งแต่เป็น ส.จ.เริ่มท�ำเพจ เรำไปงำนนี้ งำนนั้น
เรำตั้งใจจะลง ส.ส.ก็เลยท�ำมำเรื่อยๆ ท�ำมำประมำณเดือนเมษำยน 2560-2561 ก่อนจะถูกแฮก แล้วก็ปิดไป
ยอดติดตำมสูงสุดประมำณ 10,000 กว่ำคน มันมีผลที่ว่ำ ชำวบ้ำนเขำที่ไม่ใช่คนวำรินฯ แต่เขำท�ำงำนใน
วำรินฯ เขำก็จะก๊อป ส่งให้เพื่อนหรือญำติที่รู้จัก” (กิตติ์ธัญญา วาจาดี, สัมภาษณ์, 30 มิถุนายน 2562)
เช่นเดียวกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ นางสาวสุดารัตน์ พิทักษ์พรพัลลภ (สัมภาษณ์, 30 มิถุนายน
2562) แกนนำาทีมหาเสียงของ ส.ส.ชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ พรรคเพื่อไทย ค้นพบว่ารูปแบบการหาเสียงยังเน้น
การเดินแจกใบปลิว เน้นปราศรัย เดินตามบ้าน (ชาวบ้านไม่ค่อยอยู่บ้าน) เน้นความปรองดอง ต้องจัดตั้ง
หัวคะแนน ในการพูดคุยเดินแทน เพราะเขตกว้าง การใช้ Social Media
“กำรหำเสียงที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดที่ผู้ลงสมัครทุกคนมีเกือบหมด ใช้ Social Media มีแฟนเพจ
มันส�ำคัญ จริงๆ ก็คิดว่ำไม่ส�ำคัญ แต่ได้เห็นก็ตกใจว่ำมันมีผลจริงๆ ใช้กำร boot โฆษณำ ตำมพื้นที่เขต
ของตนเอง ให้ขึ้นหน้ำฟีดเฟซบุคคลที่อยู่ในพื้นที่เขตเรำ ให้ชำวบ้ำนเห็นนโยบำย(ชูนโยบำยผ่ำนโซเชียล)
ของพ่อตลอดกำรหำเสียงโฆษณำจ่ำยเฟซบุ๊กไปเกือบสองหมื่นเลยนะคะ นวัตกรรมอีกอย่ำงคือ ปิดกั้น
คู่ต่อสู้ โดยมีบุคคลมำเฝ้ำบ้ำน ติดตำมกำรลงพื้นที่ตลอดเวลำ ท�ำให้ยำก ปกติไม่เคยมีมำก่อน (บำงที
ท�ำให้ชำวบ้ำนสงสำรเรำมำก) เงินก็ยังมีผลบำงพื้นที่ ก็ยังมีผลมำก (ดูจำกคะแนนเสียงของบำงพรรค)
กับตัวทุนเดิมของผู้ลงสมัคร และพรรค
กำรปรำศรัยส�ำคัญ ถ้ำพรรคเพื่อไทยปรำศรัยไม่ได้จะแพ้หมด ส่วนพรรคอนำคตใหม่ผู้สมัคร
อนำคตใหม่ไม่ต้องลงพื้นที่แต่ได้คะแนนมำก มีผลมำจำกหัวหน้ำพรรค และควำมตื่นตัวทำงกำรเมืองของ
ประชำชนในอุบลรำชธำนี อนำคตใหม่มีแค่เขต 1 ที่เดินลงพื้นที่อย่ำงหนัก แต่นอกนั้นไม่มี แต่คะแนน
มำเป็นอันดับต้นๆ” (สุดารัตน์ พิทักษ์พรพัลลภ, สัมภาษณ์, 30 มิถุนายน 2562)
ขณะที่ ส.ส.เอกชัย ทรงอำานาจเจริญ (สัมภาษณ์, 30 มิถุนายน 2562) พรรคเพื่อไทย วิเคราะห์
เขตเลือกตั้งของตนว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้ได้รับชัยชนะมีหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านพรรคการเมือง ความ
ผูกพัน บารมีของผู้สมัคร การลงพื้นที่หาเสียง การปราศรัยของผู้สมัคร เป็นต้น