Page 117 - kpiebook63028
P. 117

116      การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดชลบุรี




































                     ภาพที่ 3 นายอภิสิทธิ์ เวชชชีวะ กับการประกาศไม่สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา

                                                 ในการสืบทอดอ�านาจ







             กำรหำเสียงของพรรคพลังประชำรัฐ




                      พรรคพลังประชารัฐใช้ยุทธศาสตร์ที่นักการเมือง “ค่ายกำานันเป๊าะ” เคยใช้ในการหาเสียงเลือกตั้ง
             ครั้งที่ผ่านมา  คือ การใช้เครือข่ายทางการเมือง “บ้านใหญ่” ผ่าน นายกเทศมนตรี นายกองค์การบริหารส่วนตำาบล

             กำานัน ผู้ใหญ่บ้าน เป็นสำาคัญ (จากการสัมภาษณ์ ผู้สมัครท่านหนึ่งของกลุ่มบ้านใหญ่ ผู้วิจัยของสงวนนาม
             ผู้เป็นแหล่งข้อมูล) พบว่าในการเลือกตั้งครั้งนี้ ทางกลุ่มบ้านใหญ่ไม่ได้เน้นความเป็น “พรรคพลังประชารัฐ และ

             ไม่เน้นเรื่องการสนับสนุน พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้ซึ่งเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรี มาใช้ในการหาเสียง
             แม้แต่เขตเดียว สังเกตได้จากรูปหรือโปสเตอร์หาเสียง ไม่มีรูปของ พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผู้ซึ่งเป็นแคนดิเดต

             นายกรัฐมนตรี คู่กับผู้สมัครทั้ง 8 เขตการเลือกตั้ง ผู้สมัครทั้ง 8 เขต เวลาเดินหาเสียงก็บอกว่าให้เลือกตัวบุคคล
             อย่าไปสนใจพรรค ซึ่งแตกต่างกับสมัยการเลือกตั้งปี 2554 ที่นักการเมือง “ค่ายกำานันเป๊าะ” เน้นหรือชูความเป็น

             “พรรคพลังชล” ชูความเป็น “พรรคการเมืองของคนบ้านเรา” เป็นยุทธศาสตร์หาเสียง


                      กลุ่มตนในการหาเสียง (จากการสัมภาษณ์ ผู้สมัครท่านหนึ่งของกลุ่มบ้านใหญ่ ผู้วิจัยของสงวนนาม
             ผู้เป็นแหล่งข้อมูล) เช่น ในเขต 3 ซึ่งมีความรู้สึกของประชาชนต่อทหารไม่ดีนัก ทำาให้การหาเสียงของ “ทนาย

             หนวด” มีความยากลำาบากในการไปเดินบอกกับชาวบ้านให้เลือกตัวเองเข้าไปเป็น ส.ส. กระแสการตอบรับของ
             ประชาชนชาวเกาะจันทร์-พนัสนิคม-พานทอง ที่ต่างเดือดร้อนกับปัญหาปากท้องที่รัฐบาลทหารแก้ไขปัญหา

             ไม่ได้จึงออกมาไม่ดี ต่างกับช่วงเวลาในการหาเสียงในสังกัดพรรคพลังชลเมื่อการเลือกตั้งปี 2554
   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121   122