Page 115 - kpiebook63021
P. 115

ส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ ย่อมถูกตีความโดยนัยยะว่า เป นพื้นที่เขตเมือง ในทางตรงกันข้าม พื้นที่ใดไม่ได้ถูก
            รายงานสถานการณ์    ดังปราก ให้เห นผ่านข้อมูลสถิติขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีการยกฐานะเป นเทศบาลมากข ้น
                     กำหนดให้เป นเขตเทศบาลก ย่อมถือว่า พื้นที่นั้นเป นเขตชนบทไปโดยปริยาย
                            จากข้อมูลสถิติจากหลายแหล่งได้ระบุว่า ประเทศไทยมีแนวโน้มเข้าสู่ความเป นสังคมเมืองมากข ้น



                     มิหนำซ้ำยังมีความหนาแน่นและขนาดประชากรในพื้นที่ที่เพิ่มมากข ้น


                            อย่างไรก ตามเมื่อพิจารณาข้อมูลสถิติในภาพรวมก พบว่า หากพิจารณาจากจำนวนประชากรไทย
                     ส่วนให ่ยังคงอาศัยอยู่นอกเขตเทศบาลมากกว่าในเขตเทศบาล นั่นหมายถ งว่า มีประชากรมากกว่าร้อยละ

                     50 ที่อาศัยอยู่ในชนบท ดังนั้นแล้วในส่วนนี้จะนำทุกท่านมาสำรวจสถานะความเป นเมืองของประเทศไทย
            ส่วนท ่ 2 สถิ ิ  ะข้อม   : สถานการณ์การกระจายอำนาจ  ะการปกครองส่วนท้องถิ่น ทย
                     ผ่านข้อมูลสถิติต่าง  ดังนี้

                     แ น า ท        แสดง ำน น ร ชากร น ขต ม องทั  ราชอาณา ักร































                     ท  มา  สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สถิติประชากรศาสตร์ ประชากรและเคหะ. เมื่อวันที่ 13 เมษายน 2563. สืบค้นจาก http://
                      tat  i.   .  .th/ tatic  p  t/pa  /  ct  /th/01.a p


                            เมื่อจำแนกข้อมูลสถิติจำนวนประชากรที่อยู่อาศัยในเขตเมืองใน ปีพ.ศ. 2561 เป นรายภูมิภาค
                     พบว่าภาคกลางมีสัดส่วนประชากรที่อยู่ในเขตเมืองมากที่สุด มีสัดส่วนร้อยละ 38.96 รองลงมาเป นภาคใต้
                     ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซ ่งมีสัดส่วนร้อยละ 29.05, 27.20 และ 20.32 ตามลำดับ ข้อมูล

                     ดังกล่าวสะท้อนให้เห นว่าภาคกลางมีความเป นเมืองค่อนข้างมากกว่าภูมิภาคอื่น  ในประเทศไทย


















                      สถาบันพระปกเก ้า
   110   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120