Page 20 - kpiebook63012
P. 20
20 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมือง และพฤติกรรมการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดพะเยา
จ�านวน
ปี พ.ศ. ผู้มาใช้สิทธิ์ เขตเลือกตั้ง ผลการเลือกตั้ง /
ลงประชามติ
(ร้อยละ)
3 กรกฎคม 79.25 เขตเลือกตั้งที่ 1 : อำาเภอเมืองพะเยาและอำาเภอ นางอรุณี ชำานาญยา
2554 แม่ใจ (พรรคเพื่อไทย)
76.05 เขตเลือกตั้งที่ 2 : อำาเภอจุน, อำาเภอ นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ
เชียงคำา และ อำาเภอภูซาง (พรรคเพื่อไทย)
77.41 เขตเลือกตั้งที่ 3 : อำาเภอภูกามยาว, อำาเภอ นายไพโรจน์ ตันบรรจง
ดอกคำาใต้, อำาเภอเชียงม่วน และอำาเภอปง (พรรคเพื่อไทย)
7 สิงหาคม 65.38 เขตจังหวัด ไม่เห็นชอบประเด็นที่ 1
2559 ร้อยละ 52.85 ของผู้มา
ใช้สิทธิ์
ไม่เห็นชอบประเด็นที่ 2
ร้อยละ 56.37 ของผู้มา
ใช้สิทธ์
ที่มา สำานักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง, 2554
ดังนั้น จากการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเลือกตั้งใหม่ที่เกิดภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
2560 คณะผู้วิจัยจึงสนใจถึงรูปแบบ วีธีการ และผลกระทบต่อการเลือกตั้งของประชาชน กลุ่มทางการเมือง
ภาคประชาสังคม ผู้ลงสมัครเลือกตั้ง และรวมถึงองค์กรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการของการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา พ.ศ. 2562 ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร
1.2 วัตถุประสงค์ของกำรวิจัย
1. เพื่อศึกษา บริบท และ สถานการณ์ทางการเมืองของจังหวัดพะเยา ช่วงก่อนและหลังการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
2. เพื่อศึกษารูปแบบ วิธีการ และผลกระทบการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพะเยา
ของผู้สมัครรับเลือกตั้ง ภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560