Page 63 - kpiebook63011
P. 63
63
17 13 กันยายน พ.ศ. 2535 การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตกึ่งรวมเขต 9 360
เขตละไม่เกิน 3 คน แบ่งเป็น 3 เขต
18 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2538 การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตกึ่งรวมเขต 10 391
เขตละไม่เกิน 3 คน แบ่งเป็น 4 เขต
19 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539 การเลือกตั้งแบบแบ่งเขตกึ่งรวมเขต 10 393
เขตละไม่เกิน 3 คน แบ่งเป็น 4 เขต
20 6 มกราคม พ.ศ. 2544 การเลือกตั้งผสมระบบแบบแบ่งเขต 10 500
และระบบบัญชีรายชื่อ แบ่งเป็น 10 เขต (400+100)
เขตละ 1 คน
21 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2548 การเลือกตั้งผสมระบบแบบแบ่งเขต 10 500
และระบบบัญชีรายชื่อ แบ่งเป็น 10 เขต (400+100)
เขตละ 1 คน
22 2 เมษายน พ.ศ. 2549** การเลือกตั้งผสมระบบแบบแบ่งเขต 10 500
และระบบบัญชีรายชื่อ แบ่งเป็น 10 เขต (400+100)
เขตละ 1 คน
23 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550*** การเลือกตั้งผสมระบบแบบแบ่งเขต 11 480
และระบบสัดส่วนบัญชีรายชื่อ (เขต 1–3 (400+80)
เขตละ 3 คน ส่วนเขต 4 มี 2 คน)
24 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2554 การเลือกตั้งผสมระบบแบบแบ่งเขต 10 500
และระบบบัญชีรายชื่อ แบ่งเป็น 10 (375+125)
เขต เขตละ 1 คน
25 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557 การเลือกตั้งผสมระบบแบบแบ่งเขต 10 500
และระบบบัญชีรายชื่อ แบ่งเป็น 10 เขต (375+125)
เขตละ 1 คน
26 24 มีนาคม พ.ศ. 2562 การเลือกตั้งผสมระบบแบบแบ่งเขตและ 9 500
ระบบบัญชีรายชื่อ แบ่งเป็น 9 เขต เขตละ (350+150)
1 คน หรือที่เรียกระบบจัดสรรปันส่วนผสม
หมายเหตุ *วันเลือกตั้งในตารางเป็นวันเลือกตั้งทั่วไปไม่นับวันเลือกตั้งซ่อมหรือการเลือกตั้งเพิ่มเติม
** ศาลรัฐธรรมนูญได้ตัดสินให้การเลือกตั้งเป็นโมฆะ ทำาให้ต้องมีการเลือกตั้งใหม่อีกครั้ง ในวันที่
15 ตุลาคม พ.ศ. 2549 แต่เกิดการรัฐประหารในวันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2549 เสียก่อน
*** จัดให้มีการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบเขตเดียวหลายคน โดยมีสมาชิกสภาผู้แทน
แบบเขตเดียวหลายคนทั้งประเทศจำานวน 400 คน และจัดการเลือกตั้งแบบสัดส่วน โดยกำาหนดให้
กลุ่มจังหวัดเป็นเขตเลือกตั้ง จำานวน 8 กลุ่มจังหวัด และแต่ละกลุ่มจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ได้เพียง 10 คน โดยมีสมาชิกสภาผู้แทนแบบเขตเดียวหลายคนทั้งประเทศจำานวน 80 คน (นครินทร์
เมฆไตรรัตน์, 2554)