Page 196 - kpiebook63009
P. 196
196 การศึกษาความเคลื่อนไหวทางการเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้ง
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 2562 จังหวัดสุพรรณบุรี
ตำรำง 5.13 ช่องทำงของสื่อที่มีกำรสนใจติดตำมข่ำวสำรกำรเลือกตั้ง
ควำมคิดเห็น
ประเด็น
มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยที่สุด ไม่ตอบ
แปลผล
จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน (S.D.)
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
สื่อที่ติดตามข่าวสาร
การเลือกตั้ง 38 50 118 121 71 4 2.66 ปานกลาง
1. หนังสือพิมพ์ (9.45) (12.44) (29.35) (30.10) (17.66) (1.00) (1.19)
2. วิทยุกระจายเสียง/ 43 103 169 59 21 7 3.22
ปานกลาง
วิทยุโทรทัศน์/วิทยุชุมชน (10.70) (25.62) (42.04) (14.68) (5.22) (1.74) (1.01)
3. แผ่นพับ/ป้ายหาเสียง/ 10 74 195 70 41 12 2.85
ใช้รถประกาศ/เปิดเวที (2.49) (18.41) (48.51) (17.41) (10.20) (2.99) (0.93) ปานกลาง
ปราศรัย
4. สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น 80 116 97 60 37 12 3.36
อินเทอร์เน็ต เฟซบุ๊ค (19.90) (28.86) (24.13) (14.93) (9.20) (2.99) (1.23)
ทวิตเตอร์ อินสตราแกรม ปานกลาง
เป็นต้น
5. เคาะประตูบ้าน 5 19 81 90 185 22 1.87 น้อย
(1.24) (4.73) (20.15) (22.39) (46.02) (5.47) (1.00)
6. สื่อประชาสัมพันธ์ของ 8 25 127 100 122 20 2.21 น้อย
กกต. (1.99) (6.22) (31.59) (24.88) (30.35) (4.98) (1.03)
2.72
เฉลี่ยรวม ปานกลาง
(0.68)
จากตาราง ช่องทางของสื่อที่มีการสนใจติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามสนใจ
ติดตามข่าวสารการเลือกตั้งผ่านช่องทางต่างๆ โดยเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X=2.72) โดยลำาดับแรกคือ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น อินเทอร์เน็ต เฟซบุ๊ค ทวิตเตอร์ อินสตราแกรม เป็นต้น (X=3.36) รองลงมาคือ
วิทยุกระจายเสียง/วิทยุโทรทัศน์/วิทยุชุมชน (X=3.22) แผ่นพับ/ป้ายหาเสียง/ใช้รถประกาศ/เปิดเวทีปราศรัย (X=2.85)
โดยลำาดับสุดท้ายคือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น เคาะประตูบ้าน เป็นต้น (X=1.87)