Page 195 - kpiebook63009
P. 195
195
ปัจจัยรายได้ พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุดมีรายได้ 5,001–10,000 บาท/เดือน
จำานวน 140 คน คิดเป็นร้อยละ 34.83 รองลงมา มีรายได้ 10,001–20,000 บาท/เดือน จำานวน 82 คน คิดเป็น
ร้อยละ 20.40 โดยผู้ตอบแบบสอบถามมีรายได้ 5,000 บาทและตำ่ากว่า จำานวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 18.16
มีรายได้ 20,001–30,000 บาท/เดือน จำานวน 56 คน คิดเป็นร้อยละ 13.93 และ 30,001 บาทขึ้นไป มีจำานวน
29 คน คิดเป็นร้อยละ 7.21
2.2 พฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรี ในส่วนพฤติกรรมการเลือกตั้ง
ของประชาชน จังหวัดสุพรรณบุรีนั้น แบ่งการวิเคราะห์ออกเป็นประเด็น คือ การติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง
ช่องทางของสื่อที่มีการสนใจติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง ผลของการติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง สาเหตุที่ทำาให้
ไม่สนใจติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง เหตุผลที่ทำาให้ไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง บุคคลที่มีอิทธิพลต่อการ
ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ประเด็นการตัดสินใจเลือก ส.ส. การพบเห็นพฤติกรรมในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ลักษณะการเข้าไปมีส่วนร่วมในพรรคการเมือง และปัจจัยที่ทำาให้สนับสนุนพรรคการเมือง โดยมีรายละเอียด
ดังตารางต่อไปนี้
ตำรำง 5.12 กำรติดตำมข่ำวสำรกำรเลือกตั้ง
ควำมคิดเห็น
ประเด็น แปลผล
มำกที่สุด มำก ปำนกลำง น้อย น้อยที่สุด ไม่ตอบ
จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน จ�ำนวน (S.D.)
(ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ) (ร้อยละ)
การติดตามข่าวสาร 53 104 185 45 13 2 -
การเลือกตั้ง (13.18) (25.87) (46.02) (11.19) (3.23) (0.50)
3.35 ปานกลาง
เฉลี่ยรวม
(0.96)
จากตาราง การติดตามข่าวสารการเลือกตั้ง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีพฤติกรรมสนใจติดตามข่าวสาร
การเลือกตั้ง โดยเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X=3.35) เมื่อพิจารณาในรายละเอียดผู้ตอบแบบสอบถาม
กลุ่มที่มีจำานวนมากที่สุด จำานวน 185 คน คิดเป็นร้อยละ 46.02 เห็นด้วยในระดับมาก รองลงมาเห็นด้วย
ในระดับมาก 104 คน จำานวน คิดเป็นร้อยละ 25.87 และเห็นด้วยในระดับมากที่สุด จำานวน 53 คน คิดเป็น
ร้อยละ 13.18